จากกรณีข่าว“ท่อวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137”ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำในอ.ศรีมหาโพธิจ.ปราจีนบุรีและตรวจพบภายหลังอาจจะถูกหลอมไปแล้วที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งในจังหวัดปราจีนบุรีนั้นวันนี้(21มี.ค.66)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์เพ่งวาณิชย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระบุว่าจากข้อมูลที่ได้รับทราบจากการรายงานข่าวของสื่อมวลชนที่ว่ามีตรวจพบการปนเปื้อนของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งนั้นซึ่งนี้คือแสดงว่ามีวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ผ่านการแปรสภาพจากสภาพเดิมไปแล้วหรือหมายถึงว่าวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้ผ่านกระบวนการหลอมมาแล้วพร้อมกับโลหะอื่นๆซึ่งระหว่างกระบวนการหลอมสามารถเกิดผงฝุ่นปนเปื้อนวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้เนื่องจากวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137เป็นวัสดุควบคุมกำกับดูแลการใช้งานซึ่งโดยปกติจะไม่มีการส่งจัดการด้วยวิธีการหลอมประกอบกับเงื่อนเวลาที่เกิดเหตุการณ์ขึ้นจึงมีความเป็นไปได้สูงที่ผลของการหลอมมาจากท่อบรรจุวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำที่เจ้าหน้าที่กำลังตามหาอยู่โดยปกติกระบวนการหลอมเหล็กที่ถูกต้องตามมาตรฐานสากลจะเป็นระบบปิดจึงไม่ควรเกิดการฟุ้งกระจายของผงฝุ่นที่เกิดขึ้นออกไปนอกเตาหลอมซึ่งรวมถึงส่วนที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีตัวนี้ด้วยถ้าหากมีการหลอมปนไปกับเหล็กจริงๆ การหลอมจะทำให้สารกัมมันตรังสีที่แต่เดิมมีลักษณะเป็นก้อนเดียวแยกออกจากกันและมีการกระจายตัวออกไปทำให้ปริมาณรังสีที่แผ่ออกมาต่อพื้นที่ลดน้อยลงส่งผลให้หากมีผู้ได้รับรังสีชนิดนี้ก็ได้รับอันตรายจากการได้รับแผ่รังสีน้อยลงเช่นเดียวกัน แต่เนื่องจากสารกัมมันตรังสีกลายเป็นอนุภาคขนาดเล็กๆหรือฝุ่นซึ่งอาจเกิดการฟุ้งกระจายออกไปนอกบริเวณเก็บได้หากมีการปกคลุมไว้ไม่ดีพอทำให้มีโอกาสที่มนุษย์จะสูดดมหรือบริโภคเข้าไปภายในร่างกายได้อย่างไรก็ดีร่างกายมนุษย์มีกลไกที่สามารถกำจัดซีเซียม-137ออกได้หากไม่ได้สูดดมหรือบริโภคเข้าไปในปริมาณมากก็จะไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์ กล่าวต่อว่าโดยปกติแล้วคนมีโอกาสได้รับรังสีจากสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่แพร่กระจายด้วยกัน2วิธีวิธีแรกคือฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137อาจจะฟุ้งมาเกาะตามเสื้อผ้าหรือผิวหนังโดยฝุ่นซีเซียม-137นี้สามารถแผ่รังสีที่ผิวหนังเราได้หากเป็นเช่นนั้นถอดเสื้อผ้าชำระล้างร่างกายทันทีด้วยน้ำเปล่าเราก็สามารถกำจัดฝุ่นหรือผงวัสดุกัมมันตรังสีออกจากร่างกายเราได้วิธีที่สองคือการที่เราสูดดมเอาฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137เข้าไปในร่างกายหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนสารซีเซียม-137หรือที่มาเกาะบริเวณใกล้จมูกหรือปากเราแล้วมีการเผลอเข้าสู่ร่างกายเราก็จะมีการผ่านเข้าไปยังระบบทางเดินอาหารหรือทางเดินหายใจแต่ด้วยสารซีเซียม-137นี้มีคุณสมบัติคล้ายกับโพแทสเซียมแม้ว่าจะกระจายไปตามส่วนต่างๆของร่างกายได้แต่ก็ถูกขับถ่ายออกมาจากร่างกายได้ค่อนข้างเร็วตามกลไกเดียวกันกับโพแทสเซียมหากมีการสะสมจะมีการสะสมตัวอยู่ที่เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อแต่ก็จะสะสมอยู่ไม่นานประมาณ10%สามารถกำจัดออกเร็วโดยจะมีค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพเพียง2วันและส่วนที่เหลือจะถูกกำจัดออกด้วยค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพราว110วันซึ่งหมายความว่าซีเซียมที่ได้รับจะอยู่ในร่างกายไม่กี่เดือนเท่านั้นและการกำจัดจะเกิดขึ้นเร็วกว่าด้วยในเด็กแม้ฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137ที่ผ่านการหลอมแล้วจะยังแผ่รังสีอยู่แต่หากมีการจัดการที่ถูกวิธีก็จะช่วยลดความเป็นไปได้ที่จะส่งผลเสียทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อคนทั่วไปได้เนื่องจากซีเซียม-137ที่ผ่านการหล่อหลอมทำให้ความรุนแรงในการปล่อยรังสีต่อพื้นที่ลดน้อยลงไปมากต้องสัมผัสเป็นเวลานานจึงจะส่งผลใดๆต่อร่างกายส่วนฝุ่นปนเปื้อนซีเซียม-137ค่อนข้างเป็นสารที่มีน้ำหนักทำให้ไม่สามารถกระจายไปตามลมได้ไกลมากนักประกอบกับปริมาณที่ไม่มากเพราะส่วนใหญ่ยังอยู่ที่โรงหลอมการควบคุมพื้นที่ของการปนเปื้อนจึงดำเนินการได้ไม่ยากนักดร.พงษ์แพทย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าทางภาครัฐตระหนักถึงเหตุการณ์ลักษณะนี้ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้และมีกระบวนการในการติดตามและเฝ้าระวังเตรียมไว้พอสมควรแล้วซึ่งเชื่อว่าเป็นไปตามแนวทางที่ปฏิบัติกันในระดับสากลส่วนวิธีการจัดการกับฝุ่นที่ปนเปื้อนสารรังสีซีเซียม-137หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าโดยปกติกากกัมมันตรังสีจะมีวิธีการจัดการที่สามารถเลือกใช้ได้เช่นการจัดเก็บในภาชนะที่กันการรั่วไหลออกไปได้ง่ายซึ่งอาจมีการปรับสภาพก่อนการจัดเก็บเพื่อให้อยู่ในรูปที่สะดวกต่อการดูแลเนื่องจากต้องจัดเก็บไปจนกว่าซีเซียม-137จะสลายตัวจนอยู่ในระดับที่ปล่อยออกสู่ธรรมชาติหรือกำจัดทิ้งได้ทั้งนี้ซีเซียม-137มีค่าครึ่งชีวิตประมาณ30ปีหมายถึงว่าทุก30ปีจำนวนสารซีเซียม-137จะสลายตัวลดจำนวนไปครึ่งหนึ่งซึ่งตามข้อมูลของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม137ที่สูญหายไปนี้มีค่ากัมมันตภาพรังสีเริ่มต้นที่80มิลลิคูรีโดยเขาใช้งานมาเกือบ30ปีแล้วนั้นหมายถึงว่าวัสดุนี้เหลืออยู่อีก40มิลลิคูรีที่จะสามารถแผ่รังสีออกมาได้และอีก30ปีต่อไปข้างหน้าสารรังสีซีเซียม-137นี้จะสลายตัวไปอีกครึ่งหนึ่งเหลือ20มิลลิคูรีสุดท้ายก็จะสลายต่อไปเรื่อยๆจนอยู่ในระดับต่ำมากสามารถปลดปล่อยสู่ธรรมชาติได้หากผู้ใดในพื้นที่มีความกังวลหรือคาดว่ามีโอกาสประสบกับการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137สามารถติดต่อภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโทร022186781เพื่อช่วยในการตรวจวัดปริมาณรังสีโดยรอบได้วิศวะ จุฬาฯ รับตรวจ ซีเซียม-137 ให้กับประชาชนที่กังวลได้รับรังสีวิศวะ จุฬาฯ รับตรวจ ซีเซียม-137 ให้กับประชาชนที่กังวลได้รับรังสีจากกรณีข่าว“ท่อวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137”ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำในอ.ศรีมหาโพธิจ.ปราจีนบุรีและตรวจพบภายหลังอาจจะถูกหลอมไปแล้วที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งในจังหวัดปราจีนบุรีนั้นวันนี้(21มี.ค.66)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์เพ่งวาณิชย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระบุว่าจากข้อมูลที่ได้รับทราบจากการรายงานข่าวของสื่อมวลชนที่ว่ามีตรวจพบการปนเปื้อนของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งนั้นซึ่งนี้คือแสดงว่ามีวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ผ่านการแปรสภาพจากสภาพเดิมไปแล้วหรือหมายถึงว่าวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้ผ่านกระบวนการหลอมมาแล้วพร้อมกับโลหะอื่นๆซึ่งระหว่างกระบวนการหลอมสามารถเกิดผงฝุ่นปนเปื้อนวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้เนื่องจากวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137เป็นวัสดุควบคุมกำกับดูแลการใช้งานซึ่งโดยปกติจะไม่มีการส่งจัดการด้วยวิธีการหลอมประกอบกับเงื่อนเวลาที่เกิดเหตุการณ์ขึ้นจึงมีความเป็นไปได้สูงที่ผลของการหลอมมาจากท่อบรรจุวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำที่เจ้าหน้าที่กำลังตามหาอยู่โดยปกติกระบวนการหลอมเหล็กที่ถูกต้องตามมาตรฐานสากลจะเป็นระบบปิดจึงไม่ควรเกิดการฟุ้งกระจายของผงฝุ่นที่เกิดขึ้นออกไปนอกเตาหลอมซึ่งรวมถึงส่วนที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีตัวนี้ด้วยถ้าหากมีการหลอมปนไปกับเหล็กจริงๆ การหลอมจะทำให้สารกัมมันตรังสีที่แต่เดิมมีลักษณะเป็นก้อนเดียวแยกออกจากกันและมีการกระจายตัวออกไปทำให้ปริมาณรังสีที่แผ่ออกมาต่อพื้นที่ลดน้อยลงส่งผลให้หากมีผู้ได้รับรังสีชนิดนี้ก็ได้รับอันตรายจากการได้รับแผ่รังสีน้อยลงเช่นเดียวกัน แต่เนื่องจากสารกัมมันตรังสีกลายเป็นอนุภาคขนาดเล็กๆหรือฝุ่นซึ่งอาจเกิดการฟุ้งกระจายออกไปนอกบริเวณเก็บได้หากมีการปกคลุมไว้ไม่ดีพอทำให้มีโอกาสที่มนุษย์จะสูดดมหรือบริโภคเข้าไปภายในร่างกายได้อย่างไรก็ดีร่างกายมนุษย์มีกลไกที่สามารถกำจัดซีเซียม-137ออกได้หากไม่ได้สูดดมหรือบริโภคเข้าไปในปริมาณมากก็จะไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์ กล่าวต่อว่าโดยปกติแล้วคนมีโอกาสได้รับรังสีจากสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่แพร่กระจายด้วยกัน2วิธีวิธีแรกคือฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137อาจจะฟุ้งมาเกาะตามเสื้อผ้าหรือผิวหนังโดยฝุ่นซีเซียม-137นี้สามารถแผ่รังสีที่ผิวหนังเราได้หากเป็นเช่นนั้นถอดเสื้อผ้าชำระล้างร่างกายทันทีด้วยน้ำเปล่าเราก็สามารถกำจัดฝุ่นหรือผงวัสดุกัมมันตรังสีออกจากร่างกายเราได้วิธีที่สองคือการที่เราสูดดมเอาฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137เข้าไปในร่างกายหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนสารซีเซียม-137หรือที่มาเกาะบริเวณใกล้จมูกหรือปากเราแล้วมีการเผลอเข้าสู่ร่างกายเราก็จะมีการผ่านเข้าไปยังระบบทางเดินอาหารหรือทางเดินหายใจแต่ด้วยสารซีเซียม-137นี้มีคุณสมบัติคล้ายกับโพแทสเซียมแม้ว่าจะกระจายไปตามส่วนต่างๆของร่างกายได้แต่ก็ถูกขับถ่ายออกมาจากร่างกายได้ค่อนข้างเร็วตามกลไกเดียวกันกับโพแทสเซียมหากมีการสะสมจะมีการสะสมตัวอยู่ที่เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อแต่ก็จะสะสมอยู่ไม่นานประมาณ10%สามารถกำจัดออกเร็วโดยจะมีค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพเพียง2วันและส่วนที่เหลือจะถูกกำจัดออกด้วยค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพราว110วันซึ่งหมายความว่าซีเซียมที่ได้รับจะอยู่ในร่างกายไม่กี่เดือนเท่านั้นและการกำจัดจะเกิดขึ้นเร็วกว่าด้วยในเด็กแม้ฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137ที่ผ่านการหลอมแล้วจะยังแผ่รังสีอยู่แต่หากมีการจัดการที่ถูกวิธีก็จะช่วยลดความเป็นไปได้ที่จะส่งผลเสียทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อคนทั่วไปได้เนื่องจากซีเซียม-137ที่ผ่านการหล่อหลอมทำให้ความรุนแรงในการปล่อยรังสีต่อพื้นที่ลดน้อยลงไปมากต้องสัมผัสเป็นเวลานานจึงจะส่งผลใดๆต่อร่างกายส่วนฝุ่นปนเปื้อนซีเซียม-137ค่อนข้างเป็นสารที่มีน้ำหนักทำให้ไม่สามารถกระจายไปตามลมได้ไกลมากนักประกอบกับปริมาณที่ไม่มากเพราะส่วนใหญ่ยังอยู่ที่โรงหลอมการควบคุมพื้นที่ของการปนเปื้อนจึงดำเนินการได้ไม่ยากนักดร.พงษ์แพทย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าทางภาครัฐตระหนักถึงเหตุการณ์ลักษณะนี้ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้และมีกระบวนการในการติดตามและเฝ้าระวังเตรียมไว้พอสมควรแล้วซึ่งเชื่อว่าเป็นไปตามแนวทางที่ปฏิบัติกันในระดับสากลส่วนวิธีการจัดการกับฝุ่นที่ปนเปื้อนสารรังสีซีเซียม-137หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าโดยปกติกากกัมมันตรังสีจะมีวิธีการจัดการที่สามารถเลือกใช้ได้เช่นการจัดเก็บในภาชนะที่กันการรั่วไหลออกไปได้ง่ายซึ่งอาจมีการปรับสภาพก่อนการจัดเก็บเพื่อให้อยู่ในรูปที่สะดวกต่อการดูแลเนื่องจากต้องจัดเก็บไปจนกว่าซีเซียม-137จะสลายตัวจนอยู่ในระดับที่ปล่อยออกสู่ธรรมชาติหรือกำจัดทิ้งได้ทั้งนี้ซีเซียม-137มีค่าครึ่งชีวิตประมาณ30ปีหมายถึงว่าทุก30ปีจำนวนสารซีเซียม-137จะสลายตัวลดจำนวนไปครึ่งหนึ่งซึ่งตามข้อมูลของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม137ที่สูญหายไปนี้มีค่ากัมมันตภาพรังสีเริ่มต้นที่80มิลลิคูรีโดยเขาใช้งานมาเกือบ30ปีแล้วนั้นหมายถึงว่าวัสดุนี้เหลืออยู่อีก40มิลลิคูรีที่จะสามารถแผ่รังสีออกมาได้และอีก30ปีต่อไปข้างหน้าสารรังสีซีเซียม-137นี้จะสลายตัวไปอีกครึ่งหนึ่งเหลือ20มิลลิคูรีสุดท้ายก็จะสลายต่อไปเรื่อยๆจนอยู่ในระดับต่ำมากสามารถปลดปล่อยสู่ธรรมชาติได้หากผู้ใดในพื้นที่มีความกังวลหรือคาดว่ามีโอกาสประสบกับการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137สามารถติดต่อภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโทร022186781เพื่อช่วยในการตรวจวัดปริมาณรังสีโดยรอบได้...

จากกรณีข่าว“ท่อวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137”ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำในอ.ศรีมหาโพธิจ.ปราจีนบุรีและตรวจพบภายหลังอาจจะถูกหลอมไปแล้วที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งในจังหวัดปราจีนบุรีนั้นวันนี้(21มี.ค.66)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์เพ่งวาณิชย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระบุว่าจากข้อมูลที่ได้รับทราบจากการรายงานข่าวของสื่อมวลชนที่ว่ามีตรวจพบการปนเปื้อนของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งนั้นซึ่งนี้คือแสดงว่ามีวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ผ่านการแปรสภาพจากสภาพเดิมไปแล้วหรือหมายถึงว่าวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้ผ่านกระบวนการหลอมมาแล้วพร้อมกับโลหะอื่นๆซึ่งระหว่างกระบวนการหลอมสามารถเกิดผงฝุ่นปนเปื้อนวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้เนื่องจากวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137เป็นวัสดุควบคุมกำกับดูแลการใช้งานซึ่งโดยปกติจะไม่มีการส่งจัดการด้วยวิธีการหลอมประกอบกับเงื่อนเวลาที่เกิดเหตุการณ์ขึ้นจึงมีความเป็นไปได้สูงที่ผลของการหลอมมาจากท่อบรรจุวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำที่เจ้าหน้าที่กำลังตามหาอยู่โดยปกติกระบวนการหลอมเหล็กที่ถูกต้องตามมาตรฐานสากลจะเป็นระบบปิดจึงไม่ควรเกิดการฟุ้งกระจายของผงฝุ่นที่เกิดขึ้นออกไปนอกเตาหลอมซึ่งรวมถึงส่วนที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีตัวนี้ด้วยถ้าหากมีการหลอมปนไปกับเหล็กจริงๆ การหลอมจะทำให้สารกัมมันตรังสีที่แต่เดิมมีลักษณะเป็นก้อนเดียวแยกออกจากกันและมีการกระจายตัวออกไปทำให้ปริมาณรังสีที่แผ่ออกมาต่อพื้นที่ลดน้อยลงส่งผลให้หากมีผู้ได้รับรังสีชนิดนี้ก็ได้รับอันตรายจากการได้รับแผ่รังสีน้อยลงเช่นเดียวกัน แต่เนื่องจากสารกัมมันตรังสีกลายเป็นอนุภาคขนาดเล็กๆหรือฝุ่นซึ่งอาจเกิดการฟุ้งกระจายออกไปนอกบริเวณเก็บได้หากมีการปกคลุมไว้ไม่ดีพอทำให้มีโอกาสที่มนุษย์จะสูดดมหรือบริโภคเข้าไปภายในร่างกายได้อย่างไรก็ดีร่างกายมนุษย์มีกลไกที่สามารถกำจัดซีเซียม-137ออกได้หากไม่ได้สูดดมหรือบริโภคเข้าไปในปริมาณมากก็จะไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์ กล่าวต่อว่าโดยปกติแล้วคนมีโอกาสได้รับรังสีจากสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่แพร่กระจายด้วยกัน2วิธีวิธีแรกคือฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137อาจจะฟุ้งมาเกาะตามเสื้อผ้าหรือผิวหนังโดยฝุ่นซีเซียม-137นี้สามารถแผ่รังสีที่ผิวหนังเราได้หากเป็นเช่นนั้นถอดเสื้อผ้าชำระล้างร่างกายทันทีด้วยน้ำเปล่าเราก็สามารถกำจัดฝุ่นหรือผงวัสดุกัมมันตรังสีออกจากร่างกายเราได้วิธีที่สองคือการที่เราสูดดมเอาฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137เข้าไปในร่างกายหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนสารซีเซียม-137หรือที่มาเกาะบริเวณใกล้จมูกหรือปากเราแล้วมีการเผลอเข้าสู่ร่างกายเราก็จะมีการผ่านเข้าไปยังระบบทางเดินอาหารหรือทางเดินหายใจแต่ด้วยสารซีเซียม-137นี้มีคุณสมบัติคล้ายกับโพแทสเซียมแม้ว่าจะกระจายไปตามส่วนต่างๆของร่างกายได้แต่ก็ถูกขับถ่ายออกมาจากร่างกายได้ค่อนข้างเร็วตามกลไกเดียวกันกับโพแทสเซียมหากมีการสะสมจะมีการสะสมตัวอยู่ที่เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อแต่ก็จะสะสมอยู่ไม่นานประมาณ10%สามารถกำจัดออกเร็วโดยจะมีค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพเพียง2วันและส่วนที่เหลือจะถูกกำจัดออกด้วยค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพราว110วันซึ่งหมายความว่าซีเซียมที่ได้รับจะอยู่ในร่างกายไม่กี่เดือนเท่านั้นและการกำจัดจะเกิดขึ้นเร็วกว่าด้วยในเด็กแม้ฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137ที่ผ่านการหลอมแล้วจะยังแผ่รังสีอยู่แต่หากมีการจัดการที่ถูกวิธีก็จะช่วยลดความเป็นไปได้ที่จะส่งผลเสียทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อคนทั่วไปได้เนื่องจากซีเซียม-137ที่ผ่านการหล่อหลอมทำให้ความรุนแรงในการปล่อยรังสีต่อพื้นที่ลดน้อยลงไปมากต้องสัมผัสเป็นเวลานานจึงจะส่งผลใดๆต่อร่างกายส่วนฝุ่นปนเปื้อนซีเซียม-137ค่อนข้างเป็นสารที่มีน้ำหนักทำให้ไม่สามารถกระจายไปตามลมได้ไกลมากนักประกอบกับปริมาณที่ไม่มากเพราะส่วนใหญ่ยังอยู่ที่โรงหลอมการควบคุมพื้นที่ของการปนเปื้อนจึงดำเนินการได้ไม่ยากนักดร.พงษ์แพทย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าทางภาครัฐตระหนักถึงเหตุการณ์ลักษณะนี้ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้และมีกระบวนการในการติดตามและเฝ้าระวังเตรียมไว้พอสมควรแล้วซึ่งเชื่อว่าเป็นไปตามแนวทางที่ปฏิบัติกันในระดับสากลส่วนวิธีการจัดการกับฝุ่นที่ปนเปื้อนสารรังสีซีเซียม-137หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าโดยปกติกากกัมมันตรังสีจะมีวิธีการจัดการที่สามารถเลือกใช้ได้เช่นการจัดเก็บในภาชนะที่กันการรั่วไหลออกไปได้ง่ายซึ่งอาจมีการปรับสภาพก่อนการจัดเก็บเพื่อให้อยู่ในรูปที่สะดวกต่อการดูแลเนื่องจากต้องจัดเก็บไปจนกว่าซีเซียม-137จะสลายตัวจนอยู่ในระดับที่ปล่อยออกสู่ธรรมชาติหรือกำจัดทิ้งได้ทั้งนี้ซีเซียม-137มีค่าครึ่งชีวิตประมาณ30ปีหมายถึงว่าทุก30ปีจำนวนสารซีเซียม-137จะสลายตัวลดจำนวนไปครึ่งหนึ่งซึ่งตามข้อมูลของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม137ที่สูญหายไปนี้มีค่ากัมมันตภาพรังสีเริ่มต้นที่80มิลลิคูรีโดยเขาใช้งานมาเกือบ30ปีแล้วนั้นหมายถึงว่าวัสดุนี้เหลืออยู่อีก40มิลลิคูรีที่จะสามารถแผ่รังสีออกมาได้และอีก30ปีต่อไปข้างหน้าสารรังสีซีเซียม-137นี้จะสลายตัวไปอีกครึ่งหนึ่งเหลือ20มิลลิคูรีสุดท้ายก็จะสลายต่อไปเรื่อยๆจนอยู่ในระดับต่ำมากสามารถปลดปล่อยสู่ธรรมชาติได้หากผู้ใดในพื้นที่มีความกังวลหรือคาดว่ามีโอกาสประสบกับการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137สามารถติดต่อภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโทร022186781เพื่อช่วยในการตรวจวัดปริมาณรังสีโดยรอบได้วิศวะ จุฬาฯ รับตรวจ ซีเซียม-137 ให้กับประชาชนที่กังวลได้รับรังสีวิศวะ จุฬาฯ รับตรวจ ซีเซียม-137 ให้กับประชาชนที่กังวลได้รับรังสีวิศวะ จุฬาฯ รับตรวจ ซีเซียม-137 ให้กับประชาชนที่กังวลได้รับรังสี...

จากกรณีข่าว“ท่อวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137”ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำในอ.ศรีมหาโพธิจ.ปราจีนบุรีและตรวจพบภายหลังอาจจะถูกหลอมไปแล้วที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งในจังหวัดปราจีนบุรีนั้นวันนี้(21มี.ค.66)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์เพ่งวาณิชย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระบุว่าจากข้อมูลที่ได้รับทราบจากการรายงานข่าวของสื่อมวลชนที่ว่ามีตรวจพบการปนเปื้อนของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งนั้นซึ่งนี้คือแสดงว่ามีวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ผ่านการแปรสภาพจากสภาพเดิมไปแล้วหรือหมายถึงว่าวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้ผ่านกระบวนการหลอมมาแล้วพร้อมกับโลหะอื่นๆซึ่งระหว่างกระบวนการหลอมสามารถเกิดผงฝุ่นปนเปื้อนวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้เนื่องจากวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137เป็นวัสดุควบคุมกำกับดูแลการใช้งานซึ่งโดยปกติจะไม่มีการส่งจัดการด้วยวิธีการหลอมประกอบกับเงื่อนเวลาที่เกิดเหตุการณ์ขึ้นจึงมีความเป็นไปได้สูงที่ผลของการหลอมมาจากท่อบรรจุวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำที่เจ้าหน้าที่กำลังตามหาอยู่โดยปกติกระบวนการหลอมเหล็กที่ถูกต้องตามมาตรฐานสากลจะเป็นระบบปิดจึงไม่ควรเกิดการฟุ้งกระจายของผงฝุ่นที่เกิดขึ้นออกไปนอกเตาหลอมซึ่งรวมถึงส่วนที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีตัวนี้ด้วยถ้าหากมีการหลอมปนไปกับเหล็กจริงๆ การหลอมจะทำให้สารกัมมันตรังสีที่แต่เดิมมีลักษณะเป็นก้อนเดียวแยกออกจากกันและมีการกระจายตัวออกไปทำให้ปริมาณรังสีที่แผ่ออกมาต่อพื้นที่ลดน้อยลงส่งผลให้หากมีผู้ได้รับรังสีชนิดนี้ก็ได้รับอันตรายจากการได้รับแผ่รังสีน้อยลงเช่นเดียวกัน แต่เนื่องจากสารกัมมันตรังสีกลายเป็นอนุภาคขนาดเล็กๆหรือฝุ่นซึ่งอาจเกิดการฟุ้งกระจายออกไปนอกบริเวณเก็บได้หากมีการปกคลุมไว้ไม่ดีพอทำให้มีโอกาสที่มนุษย์จะสูดดมหรือบริโภคเข้าไปภายในร่างกายได้อย่างไรก็ดีร่างกายมนุษย์มีกลไกที่สามารถกำจัดซีเซียม-137ออกได้หากไม่ได้สูดดมหรือบริโภคเข้าไปในปริมาณมากก็จะไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์ กล่าวต่อว่าโดยปกติแล้วคนมีโอกาสได้รับรังสีจากสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่แพร่กระจายด้วยกัน2วิธีวิธีแรกคือฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137อาจจะฟุ้งมาเกาะตามเสื้อผ้าหรือผิวหนังโดยฝุ่นซีเซียม-137นี้สามารถแผ่รังสีที่ผิวหนังเราได้หากเป็นเช่นนั้นถอดเสื้อผ้าชำระล้างร่างกายทันทีด้วยน้ำเปล่าเราก็สามารถกำจัดฝุ่นหรือผงวัสดุกัมมันตรังสีออกจากร่างกายเราได้วิธีที่สองคือการที่เราสูดดมเอาฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137เข้าไปในร่างกายหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนสารซีเซียม-137หรือที่มาเกาะบริเวณใกล้จมูกหรือปากเราแล้วมีการเผลอเข้าสู่ร่างกายเราก็จะมีการผ่านเข้าไปยังระบบทางเดินอาหารหรือทางเดินหายใจแต่ด้วยสารซีเซียม-137นี้มีคุณสมบัติคล้ายกับโพแทสเซียมแม้ว่าจะกระจายไปตามส่วนต่างๆของร่างกายได้แต่ก็ถูกขับถ่ายออกมาจากร่างกายได้ค่อนข้างเร็วตามกลไกเดียวกันกับโพแทสเซียมหากมีการสะสมจะมีการสะสมตัวอยู่ที่เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อแต่ก็จะสะสมอยู่ไม่นานประมาณ10%สามารถกำจัดออกเร็วโดยจะมีค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพเพียง2วันและส่วนที่เหลือจะถูกกำจัดออกด้วยค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพราว110วันซึ่งหมายความว่าซีเซียมที่ได้รับจะอยู่ในร่างกายไม่กี่เดือนเท่านั้นและการกำจัดจะเกิดขึ้นเร็วกว่าด้วยในเด็กแม้ฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137ที่ผ่านการหลอมแล้วจะยังแผ่รังสีอยู่แต่หากมีการจัดการที่ถูกวิธีก็จะช่วยลดความเป็นไปได้ที่จะส่งผลเสียทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อคนทั่วไปได้เนื่องจากซีเซียม-137ที่ผ่านการหล่อหลอมทำให้ความรุนแรงในการปล่อยรังสีต่อพื้นที่ลดน้อยลงไปมากต้องสัมผัสเป็นเวลานานจึงจะส่งผลใดๆต่อร่างกายส่วนฝุ่นปนเปื้อนซีเซียม-137ค่อนข้างเป็นสารที่มีน้ำหนักทำให้ไม่สามารถกระจายไปตามลมได้ไกลมากนักประกอบกับปริมาณที่ไม่มากเพราะส่วนใหญ่ยังอยู่ที่โรงหลอมการควบคุมพื้นที่ของการปนเปื้อนจึงดำเนินการได้ไม่ยากนักดร.พงษ์แพทย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าทางภาครัฐตระหนักถึงเหตุการณ์ลักษณะนี้ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้และมีกระบวนการในการติดตามและเฝ้าระวังเตรียมไว้พอสมควรแล้วซึ่งเชื่อว่าเป็นไปตามแนวทางที่ปฏิบัติกันในระดับสากลส่วนวิธีการจัดการกับฝุ่นที่ปนเปื้อนสารรังสีซีเซียม-137หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าโดยปกติกากกัมมันตรังสีจะมีวิธีการจัดการที่สามารถเลือกใช้ได้เช่นการจัดเก็บในภาชนะที่กันการรั่วไหลออกไปได้ง่ายซึ่งอาจมีการปรับสภาพก่อนการจัดเก็บเพื่อให้อยู่ในรูปที่สะดวกต่อการดูแลเนื่องจากต้องจัดเก็บไปจนกว่าซีเซียม-137จะสลายตัวจนอยู่ในระดับที่ปล่อยออกสู่ธรรมชาติหรือกำจัดทิ้งได้ทั้งนี้ซีเซียม-137มีค่าครึ่งชีวิตประมาณ30ปีหมายถึงว่าทุก30ปีจำนวนสารซีเซียม-137จะสลายตัวลดจำนวนไปครึ่งหนึ่งซึ่งตามข้อมูลของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม137ที่สูญหายไปนี้มีค่ากัมมันตภาพรังสีเริ่มต้นที่80มิลลิคูรีโดยเขาใช้งานมาเกือบ30ปีแล้วนั้นหมายถึงว่าวัสดุนี้เหลืออยู่อีก40มิลลิคูรีที่จะสามารถแผ่รังสีออกมาได้และอีก30ปีต่อไปข้างหน้าสารรังสีซีเซียม-137นี้จะสลายตัวไปอีกครึ่งหนึ่งเหลือ20มิลลิคูรีสุดท้ายก็จะสลายต่อไปเรื่อยๆจนอยู่ในระดับต่ำมากสามารถปลดปล่อยสู่ธรรมชาติได้หากผู้ใดในพื้นที่มีความกังวลหรือคาดว่ามีโอกาสประสบกับการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137สามารถติดต่อภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโทร022186781เพื่อช่วยในการตรวจวัดปริมาณรังสีโดยรอบได้จากกรณีข่าว“ท่อวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137”ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำในอ.ศรีมหาโพธิจ.ปราจีนบุรีและตรวจพบภายหลังอาจจะถูกหลอมไปแล้วที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งในจังหวัดปราจีนบุรีนั้นวันนี้(21มี.ค.66)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์เพ่งวาณิชย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระบุว่าจากข้อมูลที่ได้รับทราบจากการรายงานข่าวของสื่อมวลชนที่ว่ามีตรวจพบการปนเปื้อนของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งนั้นซึ่งนี้คือแสดงว่ามีวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ผ่านการแปรสภาพจากสภาพเดิมไปแล้วหรือหมายถึงว่าวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้ผ่านกระบวนการหลอมมาแล้วพร้อมกับโลหะอื่นๆซึ่งระหว่างกระบวนการหลอมสามารถเกิดผงฝุ่นปนเปื้อนวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้เนื่องจากวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137เป็นวัสดุควบคุมกำกับดูแลการใช้งานซึ่งโดยปกติจะไม่มีการส่งจัดการด้วยวิธีการหลอมประกอบกับเงื่อนเวลาที่เกิดเหตุการณ์ขึ้นจึงมีความเป็นไปได้สูงที่ผลของการหลอมมาจากท่อบรรจุวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำที่เจ้าหน้าที่กำลังตามหาอยู่โดยปกติกระบวนการหลอมเหล็กที่ถูกต้องตามมาตรฐานสากลจะเป็นระบบปิดจึงไม่ควรเกิดการฟุ้งกระจายของผงฝุ่นที่เกิดขึ้นออกไปนอกเตาหลอมซึ่งรวมถึงส่วนที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีตัวนี้ด้วยถ้าหากมีการหลอมปนไปกับเหล็กจริงๆ การหลอมจะทำให้สารกัมมันตรังสีที่แต่เดิมมีลักษณะเป็นก้อนเดียวแยกออกจากกันและมีการกระจายตัวออกไปทำให้ปริมาณรังสีที่แผ่ออกมาต่อพื้นที่ลดน้อยลงส่งผลให้หากมีผู้ได้รับรังสีชนิดนี้ก็ได้รับอันตรายจากการได้รับแผ่รังสีน้อยลงเช่นเดียวกัน แต่เนื่องจากสารกัมมันตรังสีกลายเป็นอนุภาคขนาดเล็กๆหรือฝุ่นซึ่งอาจเกิดการฟุ้งกระจายออกไปนอกบริเวณเก็บได้หากมีการปกคลุมไว้ไม่ดีพอทำให้มีโอกาสที่มนุษย์จะสูดดมหรือบริโภคเข้าไปภายในร่างกายได้อย่างไรก็ดีร่างกายมนุษย์มีกลไกที่สามารถกำจัดซีเซียม-137ออกได้หากไม่ได้สูดดมหรือบริโภคเข้าไปในปริมาณมากก็จะไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์ กล่าวต่อว่าโดยปกติแล้วคนมีโอกาสได้รับรังสีจากสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่แพร่กระจายด้วยกัน2วิธีวิธีแรกคือฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137อาจจะฟุ้งมาเกาะตามเสื้อผ้าหรือผิวหนังโดยฝุ่นซีเซียม-137นี้สามารถแผ่รังสีที่ผิวหนังเราได้หากเป็นเช่นนั้นถอดเสื้อผ้าชำระล้างร่างกายทันทีด้วยน้ำเปล่าเราก็สามารถกำจัดฝุ่นหรือผงวัสดุกัมมันตรังสีออกจากร่างกายเราได้วิธีที่สองคือการที่เราสูดดมเอาฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137เข้าไปในร่างกายหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนสารซีเซียม-137หรือที่มาเกาะบริเวณใกล้จมูกหรือปากเราแล้วมีการเผลอเข้าสู่ร่างกายเราก็จะมีการผ่านเข้าไปยังระบบทางเดินอาหารหรือทางเดินหายใจแต่ด้วยสารซีเซียม-137นี้มีคุณสมบัติคล้ายกับโพแทสเซียมแม้ว่าจะกระจายไปตามส่วนต่างๆของร่างกายได้แต่ก็ถูกขับถ่ายออกมาจากร่างกายได้ค่อนข้างเร็วตามกลไกเดียวกันกับโพแทสเซียมหากมีการสะสมจะมีการสะสมตัวอยู่ที่เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อแต่ก็จะสะสมอยู่ไม่นานประมาณ10%สามารถกำจัดออกเร็วโดยจะมีค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพเพียง2วันและส่วนที่เหลือจะถูกกำจัดออกด้วยค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพราว110วันซึ่งหมายความว่าซีเซียมที่ได้รับจะอยู่ในร่างกายไม่กี่เดือนเท่านั้นและการกำจัดจะเกิดขึ้นเร็วกว่าด้วยในเด็กแม้ฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137ที่ผ่านการหลอมแล้วจะยังแผ่รังสีอยู่แต่หากมีการจัดการที่ถูกวิธีก็จะช่วยลดความเป็นไปได้ที่จะส่งผลเสียทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อคนทั่วไปได้เนื่องจากซีเซียม-137ที่ผ่านการหล่อหลอมทำให้ความรุนแรงในการปล่อยรังสีต่อพื้นที่ลดน้อยลงไปมากต้องสัมผัสเป็นเวลานานจึงจะส่งผลใดๆต่อร่างกายส่วนฝุ่นปนเปื้อนซีเซียม-137ค่อนข้างเป็นสารที่มีน้ำหนักทำให้ไม่สามารถกระจายไปตามลมได้ไกลมากนักประกอบกับปริมาณที่ไม่มากเพราะส่วนใหญ่ยังอยู่ที่โรงหลอมการควบคุมพื้นที่ของการปนเปื้อนจึงดำเนินการได้ไม่ยากนักดร.พงษ์แพทย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าทางภาครัฐตระหนักถึงเหตุการณ์ลักษณะนี้ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้และมีกระบวนการในการติดตามและเฝ้าระวังเตรียมไว้พอสมควรแล้วซึ่งเชื่อว่าเป็นไปตามแนวทางที่ปฏิบัติกันในระดับสากลส่วนวิธีการจัดการกับฝุ่นที่ปนเปื้อนสารรังสีซีเซียม-137หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าโดยปกติกากกัมมันตรังสีจะมีวิธีการจัดการที่สามารถเลือกใช้ได้เช่นการจัดเก็บในภาชนะที่กันการรั่วไหลออกไปได้ง่ายซึ่งอาจมีการปรับสภาพก่อนการจัดเก็บเพื่อให้อยู่ในรูปที่สะดวกต่อการดูแลเนื่องจากต้องจัดเก็บไปจนกว่าซีเซียม-137จะสลายตัวจนอยู่ในระดับที่ปล่อยออกสู่ธรรมชาติหรือกำจัดทิ้งได้ทั้งนี้ซีเซียม-137มีค่าครึ่งชีวิตประมาณ30ปีหมายถึงว่าทุก30ปีจำนวนสารซีเซียม-137จะสลายตัวลดจำนวนไปครึ่งหนึ่งซึ่งตามข้อมูลของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม137ที่สูญหายไปนี้มีค่ากัมมันตภาพรังสีเริ่มต้นที่80มิลลิคูรีโดยเขาใช้งานมาเกือบ30ปีแล้วนั้นหมายถึงว่าวัสดุนี้เหลืออยู่อีก40มิลลิคูรีที่จะสามารถแผ่รังสีออกมาได้และอีก30ปีต่อไปข้างหน้าสารรังสีซีเซียม-137นี้จะสลายตัวไปอีกครึ่งหนึ่งเหลือ20มิลลิคูรีสุดท้ายก็จะสลายต่อไปเรื่อยๆจนอยู่ในระดับต่ำมากสามารถปลดปล่อยสู่ธรรมชาติได้หากผู้ใดในพื้นที่มีความกังวลหรือคาดว่ามีโอกาสประสบกับการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137สามารถติดต่อภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโทร022186781เพื่อช่วยในการตรวจวัดปริมาณรังสีโดยรอบได้วิศวะ จุฬาฯ รับตรวจ ซีเซียม-137 ให้กับประชาชนที่กังวลได้รับรังสีจากกรณีข่าว“ท่อวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137”ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำในอ.ศรีมหาโพธิจ.ปราจีนบุรีและตรวจพบภายหลังอาจจะถูกหลอมไปแล้วที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งในจังหวัดปราจีนบุรีนั้นวันนี้(21มี.ค.66)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์เพ่งวาณิชย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระบุว่าจากข้อมูลที่ได้รับทราบจากการรายงานข่าวของสื่อมวลชนที่ว่ามีตรวจพบการปนเปื้อนของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งนั้นซึ่งนี้คือแสดงว่ามีวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ผ่านการแปรสภาพจากสภาพเดิมไปแล้วหรือหมายถึงว่าวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้ผ่านกระบวนการหลอมมาแล้วพร้อมกับโลหะอื่นๆซึ่งระหว่างกระบวนการหลอมสามารถเกิดผงฝุ่นปนเปื้อนวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้เนื่องจากวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137เป็นวัสดุควบคุมกำกับดูแลการใช้งานซึ่งโดยปกติจะไม่มีการส่งจัดการด้วยวิธีการหลอมประกอบกับเงื่อนเวลาที่เกิดเหตุการณ์ขึ้นจึงมีความเป็นไปได้สูงที่ผลของการหลอมมาจากท่อบรรจุวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำที่เจ้าหน้าที่กำลังตามหาอยู่โดยปกติกระบวนการหลอมเหล็กที่ถูกต้องตามมาตรฐานสากลจะเป็นระบบปิดจึงไม่ควรเกิดการฟุ้งกระจายของผงฝุ่นที่เกิดขึ้นออกไปนอกเตาหลอมซึ่งรวมถึงส่วนที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีตัวนี้ด้วยถ้าหากมีการหลอมปนไปกับเหล็กจริงๆ การหลอมจะทำให้สารกัมมันตรังสีที่แต่เดิมมีลักษณะเป็นก้อนเดียวแยกออกจากกันและมีการกระจายตัวออกไปทำให้ปริมาณรังสีที่แผ่ออกมาต่อพื้นที่ลดน้อยลงส่งผลให้หากมีผู้ได้รับรังสีชนิดนี้ก็ได้รับอันตรายจากการได้รับแผ่รังสีน้อยลงเช่นเดียวกัน แต่เนื่องจากสารกัมมันตรังสีกลายเป็นอนุภาคขนาดเล็กๆหรือฝุ่นซึ่งอาจเกิดการฟุ้งกระจายออกไปนอกบริเวณเก็บได้หากมีการปกคลุมไว้ไม่ดีพอทำให้มีโอกาสที่มนุษย์จะสูดดมหรือบริโภคเข้าไปภายในร่างกายได้อย่างไรก็ดีร่างกายมนุษย์มีกลไกที่สามารถกำจัดซีเซียม-137ออกได้หากไม่ได้สูดดมหรือบริโภคเข้าไปในปริมาณมากก็จะไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์ กล่าวต่อว่าโดยปกติแล้วคนมีโอกาสได้รับรังสีจากสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่แพร่กระจายด้วยกัน2วิธีวิธีแรกคือฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137อาจจะฟุ้งมาเกาะตามเสื้อผ้าหรือผิวหนังโดยฝุ่นซีเซียม-137นี้สามารถแผ่รังสีที่ผิวหนังเราได้หากเป็นเช่นนั้นถอดเสื้อผ้าชำระล้างร่างกายทันทีด้วยน้ำเปล่าเราก็สามารถกำจัดฝุ่นหรือผงวัสดุกัมมันตรังสีออกจากร่างกายเราได้วิธีที่สองคือการที่เราสูดดมเอาฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137เข้าไปในร่างกายหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนสารซีเซียม-137หรือที่มาเกาะบริเวณใกล้จมูกหรือปากเราแล้วมีการเผลอเข้าสู่ร่างกายเราก็จะมีการผ่านเข้าไปยังระบบทางเดินอาหารหรือทางเดินหายใจแต่ด้วยสารซีเซียม-137นี้มีคุณสมบัติคล้ายกับโพแทสเซียมแม้ว่าจะกระจายไปตามส่วนต่างๆของร่างกายได้แต่ก็ถูกขับถ่ายออกมาจากร่างกายได้ค่อนข้างเร็วตามกลไกเดียวกันกับโพแทสเซียมหากมีการสะสมจะมีการสะสมตัวอยู่ที่เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อแต่ก็จะสะสมอยู่ไม่นานประมาณ10%สามารถกำจัดออกเร็วโดยจะมีค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพเพียง2วันและส่วนที่เหลือจะถูกกำจัดออกด้วยค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพราว110วันซึ่งหมายความว่าซีเซียมที่ได้รับจะอยู่ในร่างกายไม่กี่เดือนเท่านั้นและการกำจัดจะเกิดขึ้นเร็วกว่าด้วยในเด็กแม้ฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137ที่ผ่านการหลอมแล้วจะยังแผ่รังสีอยู่แต่หากมีการจัดการที่ถูกวิธีก็จะช่วยลดความเป็นไปได้ที่จะส่งผลเสียทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อคนทั่วไปได้เนื่องจากซีเซียม-137ที่ผ่านการหล่อหลอมทำให้ความรุนแรงในการปล่อยรังสีต่อพื้นที่ลดน้อยลงไปมากต้องสัมผัสเป็นเวลานานจึงจะส่งผลใดๆต่อร่างกายส่วนฝุ่นปนเปื้อนซีเซียม-137ค่อนข้างเป็นสารที่มีน้ำหนักทำให้ไม่สามารถกระจายไปตามลมได้ไกลมากนักประกอบกับปริมาณที่ไม่มากเพราะส่วนใหญ่ยังอยู่ที่โรงหลอมการควบคุมพื้นที่ของการปนเปื้อนจึงดำเนินการได้ไม่ยากนักดร.พงษ์แพทย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าทางภาครัฐตระหนักถึงเหตุการณ์ลักษณะนี้ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้และมีกระบวนการในการติดตามและเฝ้าระวังเตรียมไว้พอสมควรแล้วซึ่งเชื่อว่าเป็นไปตามแนวทางที่ปฏิบัติกันในระดับสากลส่วนวิธีการจัดการกับฝุ่นที่ปนเปื้อนสารรังสีซีเซียม-137หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าโดยปกติกากกัมมันตรังสีจะมีวิธีการจัดการที่สามารถเลือกใช้ได้เช่นการจัดเก็บในภาชนะที่กันการรั่วไหลออกไปได้ง่ายซึ่งอาจมีการปรับสภาพก่อนการจัดเก็บเพื่อให้อยู่ในรูปที่สะดวกต่อการดูแลเนื่องจากต้องจัดเก็บไปจนกว่าซีเซียม-137จะสลายตัวจนอยู่ในระดับที่ปล่อยออกสู่ธรรมชาติหรือกำจัดทิ้งได้ทั้งนี้ซีเซียม-137มีค่าครึ่งชีวิตประมาณ30ปีหมายถึงว่าทุก30ปีจำนวนสารซีเซียม-137จะสลายตัวลดจำนวนไปครึ่งหนึ่งซึ่งตามข้อมูลของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม137ที่สูญหายไปนี้มีค่ากัมมันตภาพรังสีเริ่มต้นที่80มิลลิคูรีโดยเขาใช้งานมาเกือบ30ปีแล้วนั้นหมายถึงว่าวัสดุนี้เหลืออยู่อีก40มิลลิคูรีที่จะสามารถแผ่รังสีออกมาได้และอีก30ปีต่อไปข้างหน้าสารรังสีซีเซียม-137นี้จะสลายตัวไปอีกครึ่งหนึ่งเหลือ20มิลลิคูรีสุดท้ายก็จะสลายต่อไปเรื่อยๆจนอยู่ในระดับต่ำมากสามารถปลดปล่อยสู่ธรรมชาติได้หากผู้ใดในพื้นที่มีความกังวลหรือคาดว่ามีโอกาสประสบกับการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137สามารถติดต่อภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโทร022186781เพื่อช่วยในการตรวจวัดปริมาณรังสีโดยรอบได้...

วิศวะ จุฬาฯ รับตรวจ ซีเซียม-137 ให้กับประชาชนที่กังวลได้รับรังสีวิศวะ จุฬาฯ รับตรวจ ซีเซียม-137 ให้กับประชาชนที่กังวลได้รับรังสีจากกรณีข่าว“ท่อวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137”ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำในอ.ศรีมหาโพธิจ.ปราจีนบุรีและตรวจพบภายหลังอาจจะถูกหลอมไปแล้วที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งในจังหวัดปราจีนบุรีนั้นวันนี้(21มี.ค.66)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์เพ่งวาณิชย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระบุว่าจากข้อมูลที่ได้รับทราบจากการรายงานข่าวของสื่อมวลชนที่ว่ามีตรวจพบการปนเปื้อนของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งนั้นซึ่งนี้คือแสดงว่ามีวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ผ่านการแปรสภาพจากสภาพเดิมไปแล้วหรือหมายถึงว่าวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้ผ่านกระบวนการหลอมมาแล้วพร้อมกับโลหะอื่นๆซึ่งระหว่างกระบวนการหลอมสามารถเกิดผงฝุ่นปนเปื้อนวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้เนื่องจากวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137เป็นวัสดุควบคุมกำกับดูแลการใช้งานซึ่งโดยปกติจะไม่มีการส่งจัดการด้วยวิธีการหลอมประกอบกับเงื่อนเวลาที่เกิดเหตุการณ์ขึ้นจึงมีความเป็นไปได้สูงที่ผลของการหลอมมาจากท่อบรรจุวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำที่เจ้าหน้าที่กำลังตามหาอยู่โดยปกติกระบวนการหลอมเหล็กที่ถูกต้องตามมาตรฐานสากลจะเป็นระบบปิดจึงไม่ควรเกิดการฟุ้งกระจายของผงฝุ่นที่เกิดขึ้นออกไปนอกเตาหลอมซึ่งรวมถึงส่วนที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีตัวนี้ด้วยถ้าหากมีการหลอมปนไปกับเหล็กจริงๆ การหลอมจะทำให้สารกัมมันตรังสีที่แต่เดิมมีลักษณะเป็นก้อนเดียวแยกออกจากกันและมีการกระจายตัวออกไปทำให้ปริมาณรังสีที่แผ่ออกมาต่อพื้นที่ลดน้อยลงส่งผลให้หากมีผู้ได้รับรังสีชนิดนี้ก็ได้รับอันตรายจากการได้รับแผ่รังสีน้อยลงเช่นเดียวกัน แต่เนื่องจากสารกัมมันตรังสีกลายเป็นอนุภาคขนาดเล็กๆหรือฝุ่นซึ่งอาจเกิดการฟุ้งกระจายออกไปนอกบริเวณเก็บได้หากมีการปกคลุมไว้ไม่ดีพอทำให้มีโอกาสที่มนุษย์จะสูดดมหรือบริโภคเข้าไปภายในร่างกายได้อย่างไรก็ดีร่างกายมนุษย์มีกลไกที่สามารถกำจัดซีเซียม-137ออกได้หากไม่ได้สูดดมหรือบริโภคเข้าไปในปริมาณมากก็จะไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์ กล่าวต่อว่าโดยปกติแล้วคนมีโอกาสได้รับรังสีจากสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่แพร่กระจายด้วยกัน2วิธีวิธีแรกคือฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137อาจจะฟุ้งมาเกาะตามเสื้อผ้าหรือผิวหนังโดยฝุ่นซีเซียม-137นี้สามารถแผ่รังสีที่ผิวหนังเราได้หากเป็นเช่นนั้นถอดเสื้อผ้าชำระล้างร่างกายทันทีด้วยน้ำเปล่าเราก็สามารถกำจัดฝุ่นหรือผงวัสดุกัมมันตรังสีออกจากร่างกายเราได้วิธีที่สองคือการที่เราสูดดมเอาฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137เข้าไปในร่างกายหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนสารซีเซียม-137หรือที่มาเกาะบริเวณใกล้จมูกหรือปากเราแล้วมีการเผลอเข้าสู่ร่างกายเราก็จะมีการผ่านเข้าไปยังระบบทางเดินอาหารหรือทางเดินหายใจแต่ด้วยสารซีเซียม-137นี้มีคุณสมบัติคล้ายกับโพแทสเซียมแม้ว่าจะกระจายไปตามส่วนต่างๆของร่างกายได้แต่ก็ถูกขับถ่ายออกมาจากร่างกายได้ค่อนข้างเร็วตามกลไกเดียวกันกับโพแทสเซียมหากมีการสะสมจะมีการสะสมตัวอยู่ที่เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อแต่ก็จะสะสมอยู่ไม่นานประมาณ10%สามารถกำจัดออกเร็วโดยจะมีค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพเพียง2วันและส่วนที่เหลือจะถูกกำจัดออกด้วยค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพราว110วันซึ่งหมายความว่าซีเซียมที่ได้รับจะอยู่ในร่างกายไม่กี่เดือนเท่านั้นและการกำจัดจะเกิดขึ้นเร็วกว่าด้วยในเด็กแม้ฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137ที่ผ่านการหลอมแล้วจะยังแผ่รังสีอยู่แต่หากมีการจัดการที่ถูกวิธีก็จะช่วยลดความเป็นไปได้ที่จะส่งผลเสียทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อคนทั่วไปได้เนื่องจากซีเซียม-137ที่ผ่านการหล่อหลอมทำให้ความรุนแรงในการปล่อยรังสีต่อพื้นที่ลดน้อยลงไปมากต้องสัมผัสเป็นเวลานานจึงจะส่งผลใดๆต่อร่างกายส่วนฝุ่นปนเปื้อนซีเซียม-137ค่อนข้างเป็นสารที่มีน้ำหนักทำให้ไม่สามารถกระจายไปตามลมได้ไกลมากนักประกอบกับปริมาณที่ไม่มากเพราะส่วนใหญ่ยังอยู่ที่โรงหลอมการควบคุมพื้นที่ของการปนเปื้อนจึงดำเนินการได้ไม่ยากนักดร.พงษ์แพทย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าทางภาครัฐตระหนักถึงเหตุการณ์ลักษณะนี้ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้และมีกระบวนการในการติดตามและเฝ้าระวังเตรียมไว้พอสมควรแล้วซึ่งเชื่อว่าเป็นไปตามแนวทางที่ปฏิบัติกันในระดับสากลส่วนวิธีการจัดการกับฝุ่นที่ปนเปื้อนสารรังสีซีเซียม-137หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าโดยปกติกากกัมมันตรังสีจะมีวิธีการจัดการที่สามารถเลือกใช้ได้เช่นการจัดเก็บในภาชนะที่กันการรั่วไหลออกไปได้ง่ายซึ่งอาจมีการปรับสภาพก่อนการจัดเก็บเพื่อให้อยู่ในรูปที่สะดวกต่อการดูแลเนื่องจากต้องจัดเก็บไปจนกว่าซีเซียม-137จะสลายตัวจนอยู่ในระดับที่ปล่อยออกสู่ธรรมชาติหรือกำจัดทิ้งได้ทั้งนี้ซีเซียม-137มีค่าครึ่งชีวิตประมาณ30ปีหมายถึงว่าทุก30ปีจำนวนสารซีเซียม-137จะสลายตัวลดจำนวนไปครึ่งหนึ่งซึ่งตามข้อมูลของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม137ที่สูญหายไปนี้มีค่ากัมมันตภาพรังสีเริ่มต้นที่80มิลลิคูรีโดยเขาใช้งานมาเกือบ30ปีแล้วนั้นหมายถึงว่าวัสดุนี้เหลืออยู่อีก40มิลลิคูรีที่จะสามารถแผ่รังสีออกมาได้และอีก30ปีต่อไปข้างหน้าสารรังสีซีเซียม-137นี้จะสลายตัวไปอีกครึ่งหนึ่งเหลือ20มิลลิคูรีสุดท้ายก็จะสลายต่อไปเรื่อยๆจนอยู่ในระดับต่ำมากสามารถปลดปล่อยสู่ธรรมชาติได้หากผู้ใดในพื้นที่มีความกังวลหรือคาดว่ามีโอกาสประสบกับการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137สามารถติดต่อภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโทร022186781เพื่อช่วยในการตรวจวัดปริมาณรังสีโดยรอบได้จากกรณีข่าว“ท่อวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137”ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำในอ.ศรีมหาโพธิจ.ปราจีนบุรีและตรวจพบภายหลังอาจจะถูกหลอมไปแล้วที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งในจังหวัดปราจีนบุรีนั้นวันนี้(21มี.ค.66)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์เพ่งวาณิชย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระบุว่าจากข้อมูลที่ได้รับทราบจากการรายงานข่าวของสื่อมวลชนที่ว่ามีตรวจพบการปนเปื้อนของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งนั้นซึ่งนี้คือแสดงว่ามีวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ผ่านการแปรสภาพจากสภาพเดิมไปแล้วหรือหมายถึงว่าวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้ผ่านกระบวนการหลอมมาแล้วพร้อมกับโลหะอื่นๆซึ่งระหว่างกระบวนการหลอมสามารถเกิดผงฝุ่นปนเปื้อนวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้เนื่องจากวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137เป็นวัสดุควบคุมกำกับดูแลการใช้งานซึ่งโดยปกติจะไม่มีการส่งจัดการด้วยวิธีการหลอมประกอบกับเงื่อนเวลาที่เกิดเหตุการณ์ขึ้นจึงมีความเป็นไปได้สูงที่ผลของการหลอมมาจากท่อบรรจุวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำที่เจ้าหน้าที่กำลังตามหาอยู่โดยปกติกระบวนการหลอมเหล็กที่ถูกต้องตามมาตรฐานสากลจะเป็นระบบปิดจึงไม่ควรเกิดการฟุ้งกระจายของผงฝุ่นที่เกิดขึ้นออกไปนอกเตาหลอมซึ่งรวมถึงส่วนที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีตัวนี้ด้วยถ้าหากมีการหลอมปนไปกับเหล็กจริงๆ การหลอมจะทำให้สารกัมมันตรังสีที่แต่เดิมมีลักษณะเป็นก้อนเดียวแยกออกจากกันและมีการกระจายตัวออกไปทำให้ปริมาณรังสีที่แผ่ออกมาต่อพื้นที่ลดน้อยลงส่งผลให้หากมีผู้ได้รับรังสีชนิดนี้ก็ได้รับอันตรายจากการได้รับแผ่รังสีน้อยลงเช่นเดียวกัน แต่เนื่องจากสารกัมมันตรังสีกลายเป็นอนุภาคขนาดเล็กๆหรือฝุ่นซึ่งอาจเกิดการฟุ้งกระจายออกไปนอกบริเวณเก็บได้หากมีการปกคลุมไว้ไม่ดีพอทำให้มีโอกาสที่มนุษย์จะสูดดมหรือบริโภคเข้าไปภายในร่างกายได้อย่างไรก็ดีร่างกายมนุษย์มีกลไกที่สามารถกำจัดซีเซียม-137ออกได้หากไม่ได้สูดดมหรือบริโภคเข้าไปในปริมาณมากก็จะไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์ กล่าวต่อว่าโดยปกติแล้วคนมีโอกาสได้รับรังสีจากสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่แพร่กระจายด้วยกัน2วิธีวิธีแรกคือฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137อาจจะฟุ้งมาเกาะตามเสื้อผ้าหรือผิวหนังโดยฝุ่นซีเซียม-137นี้สามารถแผ่รังสีที่ผิวหนังเราได้หากเป็นเช่นนั้นถอดเสื้อผ้าชำระล้างร่างกายทันทีด้วยน้ำเปล่าเราก็สามารถกำจัดฝุ่นหรือผงวัสดุกัมมันตรังสีออกจากร่างกายเราได้วิธีที่สองคือการที่เราสูดดมเอาฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137เข้าไปในร่างกายหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนสารซีเซียม-137หรือที่มาเกาะบริเวณใกล้จมูกหรือปากเราแล้วมีการเผลอเข้าสู่ร่างกายเราก็จะมีการผ่านเข้าไปยังระบบทางเดินอาหารหรือทางเดินหายใจแต่ด้วยสารซีเซียม-137นี้มีคุณสมบัติคล้ายกับโพแทสเซียมแม้ว่าจะกระจายไปตามส่วนต่างๆของร่างกายได้แต่ก็ถูกขับถ่ายออกมาจากร่างกายได้ค่อนข้างเร็วตามกลไกเดียวกันกับโพแทสเซียมหากมีการสะสมจะมีการสะสมตัวอยู่ที่เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อแต่ก็จะสะสมอยู่ไม่นานประมาณ10%สามารถกำจัดออกเร็วโดยจะมีค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพเพียง2วันและส่วนที่เหลือจะถูกกำจัดออกด้วยค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพราว110วันซึ่งหมายความว่าซีเซียมที่ได้รับจะอยู่ในร่างกายไม่กี่เดือนเท่านั้นและการกำจัดจะเกิดขึ้นเร็วกว่าด้วยในเด็กแม้ฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137ที่ผ่านการหลอมแล้วจะยังแผ่รังสีอยู่แต่หากมีการจัดการที่ถูกวิธีก็จะช่วยลดความเป็นไปได้ที่จะส่งผลเสียทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อคนทั่วไปได้เนื่องจากซีเซียม-137ที่ผ่านการหล่อหลอมทำให้ความรุนแรงในการปล่อยรังสีต่อพื้นที่ลดน้อยลงไปมากต้องสัมผัสเป็นเวลานานจึงจะส่งผลใดๆต่อร่างกายส่วนฝุ่นปนเปื้อนซีเซียม-137ค่อนข้างเป็นสารที่มีน้ำหนักทำให้ไม่สามารถกระจายไปตามลมได้ไกลมากนักประกอบกับปริมาณที่ไม่มากเพราะส่วนใหญ่ยังอยู่ที่โรงหลอมการควบคุมพื้นที่ของการปนเปื้อนจึงดำเนินการได้ไม่ยากนักดร.พงษ์แพทย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าทางภาครัฐตระหนักถึงเหตุการณ์ลักษณะนี้ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้และมีกระบวนการในการติดตามและเฝ้าระวังเตรียมไว้พอสมควรแล้วซึ่งเชื่อว่าเป็นไปตามแนวทางที่ปฏิบัติกันในระดับสากลส่วนวิธีการจัดการกับฝุ่นที่ปนเปื้อนสารรังสีซีเซียม-137หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าโดยปกติกากกัมมันตรังสีจะมีวิธีการจัดการที่สามารถเลือกใช้ได้เช่นการจัดเก็บในภาชนะที่กันการรั่วไหลออกไปได้ง่ายซึ่งอาจมีการปรับสภาพก่อนการจัดเก็บเพื่อให้อยู่ในรูปที่สะดวกต่อการดูแลเนื่องจากต้องจัดเก็บไปจนกว่าซีเซียม-137จะสลายตัวจนอยู่ในระดับที่ปล่อยออกสู่ธรรมชาติหรือกำจัดทิ้งได้ทั้งนี้ซีเซียม-137มีค่าครึ่งชีวิตประมาณ30ปีหมายถึงว่าทุก30ปีจำนวนสารซีเซียม-137จะสลายตัวลดจำนวนไปครึ่งหนึ่งซึ่งตามข้อมูลของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม137ที่สูญหายไปนี้มีค่ากัมมันตภาพรังสีเริ่มต้นที่80มิลลิคูรีโดยเขาใช้งานมาเกือบ30ปีแล้วนั้นหมายถึงว่าวัสดุนี้เหลืออยู่อีก40มิลลิคูรีที่จะสามารถแผ่รังสีออกมาได้และอีก30ปีต่อไปข้างหน้าสารรังสีซีเซียม-137นี้จะสลายตัวไปอีกครึ่งหนึ่งเหลือ20มิลลิคูรีสุดท้ายก็จะสลายต่อไปเรื่อยๆจนอยู่ในระดับต่ำมากสามารถปลดปล่อยสู่ธรรมชาติได้หากผู้ใดในพื้นที่มีความกังวลหรือคาดว่ามีโอกาสประสบกับการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137สามารถติดต่อภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโทร022186781เพื่อช่วยในการตรวจวัดปริมาณรังสีโดยรอบได้...

วิศวะ จุฬาฯ รับตรวจ ซีเซียม-137 ให้กับประชาชนที่กังวลได้รับรังสีวิศวะ จุฬาฯ รับตรวจ ซีเซียม-137 ให้กับประชาชนที่กังวลได้รับรังสีจากกรณีข่าว“ท่อวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137”ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำในอ.ศรีมหาโพธิจ.ปราจีนบุรีและตรวจพบภายหลังอาจจะถูกหลอมไปแล้วที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งในจังหวัดปราจีนบุรีนั้นวันนี้(21มี.ค.66)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์เพ่งวาณิชย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระบุว่าจากข้อมูลที่ได้รับทราบจากการรายงานข่าวของสื่อมวลชนที่ว่ามีตรวจพบการปนเปื้อนของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งนั้นซึ่งนี้คือแสดงว่ามีวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ผ่านการแปรสภาพจากสภาพเดิมไปแล้วหรือหมายถึงว่าวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้ผ่านกระบวนการหลอมมาแล้วพร้อมกับโลหะอื่นๆซึ่งระหว่างกระบวนการหลอมสามารถเกิดผงฝุ่นปนเปื้อนวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้เนื่องจากวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137เป็นวัสดุควบคุมกำกับดูแลการใช้งานซึ่งโดยปกติจะไม่มีการส่งจัดการด้วยวิธีการหลอมประกอบกับเงื่อนเวลาที่เกิดเหตุการณ์ขึ้นจึงมีความเป็นไปได้สูงที่ผลของการหลอมมาจากท่อบรรจุวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำที่เจ้าหน้าที่กำลังตามหาอยู่โดยปกติกระบวนการหลอมเหล็กที่ถูกต้องตามมาตรฐานสากลจะเป็นระบบปิดจึงไม่ควรเกิดการฟุ้งกระจายของผงฝุ่นที่เกิดขึ้นออกไปนอกเตาหลอมซึ่งรวมถึงส่วนที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีตัวนี้ด้วยถ้าหากมีการหลอมปนไปกับเหล็กจริงๆ การหลอมจะทำให้สารกัมมันตรังสีที่แต่เดิมมีลักษณะเป็นก้อนเดียวแยกออกจากกันและมีการกระจายตัวออกไปทำให้ปริมาณรังสีที่แผ่ออกมาต่อพื้นที่ลดน้อยลงส่งผลให้หากมีผู้ได้รับรังสีชนิดนี้ก็ได้รับอันตรายจากการได้รับแผ่รังสีน้อยลงเช่นเดียวกัน แต่เนื่องจากสารกัมมันตรังสีกลายเป็นอนุภาคขนาดเล็กๆหรือฝุ่นซึ่งอาจเกิดการฟุ้งกระจายออกไปนอกบริเวณเก็บได้หากมีการปกคลุมไว้ไม่ดีพอทำให้มีโอกาสที่มนุษย์จะสูดดมหรือบริโภคเข้าไปภายในร่างกายได้อย่างไรก็ดีร่างกายมนุษย์มีกลไกที่สามารถกำจัดซีเซียม-137ออกได้หากไม่ได้สูดดมหรือบริโภคเข้าไปในปริมาณมากก็จะไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์ กล่าวต่อว่าโดยปกติแล้วคนมีโอกาสได้รับรังสีจากสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่แพร่กระจายด้วยกัน2วิธีวิธีแรกคือฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137อาจจะฟุ้งมาเกาะตามเสื้อผ้าหรือผิวหนังโดยฝุ่นซีเซียม-137นี้สามารถแผ่รังสีที่ผิวหนังเราได้หากเป็นเช่นนั้นถอดเสื้อผ้าชำระล้างร่างกายทันทีด้วยน้ำเปล่าเราก็สามารถกำจัดฝุ่นหรือผงวัสดุกัมมันตรังสีออกจากร่างกายเราได้วิธีที่สองคือการที่เราสูดดมเอาฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137เข้าไปในร่างกายหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนสารซีเซียม-137หรือที่มาเกาะบริเวณใกล้จมูกหรือปากเราแล้วมีการเผลอเข้าสู่ร่างกายเราก็จะมีการผ่านเข้าไปยังระบบทางเดินอาหารหรือทางเดินหายใจแต่ด้วยสารซีเซียม-137นี้มีคุณสมบัติคล้ายกับโพแทสเซียมแม้ว่าจะกระจายไปตามส่วนต่างๆของร่างกายได้แต่ก็ถูกขับถ่ายออกมาจากร่างกายได้ค่อนข้างเร็วตามกลไกเดียวกันกับโพแทสเซียมหากมีการสะสมจะมีการสะสมตัวอยู่ที่เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อแต่ก็จะสะสมอยู่ไม่นานประมาณ10%สามารถกำจัดออกเร็วโดยจะมีค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพเพียง2วันและส่วนที่เหลือจะถูกกำจัดออกด้วยค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพราว110วันซึ่งหมายความว่าซีเซียมที่ได้รับจะอยู่ในร่างกายไม่กี่เดือนเท่านั้นและการกำจัดจะเกิดขึ้นเร็วกว่าด้วยในเด็กแม้ฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137ที่ผ่านการหลอมแล้วจะยังแผ่รังสีอยู่แต่หากมีการจัดการที่ถูกวิธีก็จะช่วยลดความเป็นไปได้ที่จะส่งผลเสียทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อคนทั่วไปได้เนื่องจากซีเซียม-137ที่ผ่านการหล่อหลอมทำให้ความรุนแรงในการปล่อยรังสีต่อพื้นที่ลดน้อยลงไปมากต้องสัมผัสเป็นเวลานานจึงจะส่งผลใดๆต่อร่างกายส่วนฝุ่นปนเปื้อนซีเซียม-137ค่อนข้างเป็นสารที่มีน้ำหนักทำให้ไม่สามารถกระจายไปตามลมได้ไกลมากนักประกอบกับปริมาณที่ไม่มากเพราะส่วนใหญ่ยังอยู่ที่โรงหลอมการควบคุมพื้นที่ของการปนเปื้อนจึงดำเนินการได้ไม่ยากนักดร.พงษ์แพทย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าทางภาครัฐตระหนักถึงเหตุการณ์ลักษณะนี้ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้และมีกระบวนการในการติดตามและเฝ้าระวังเตรียมไว้พอสมควรแล้วซึ่งเชื่อว่าเป็นไปตามแนวทางที่ปฏิบัติกันในระดับสากลส่วนวิธีการจัดการกับฝุ่นที่ปนเปื้อนสารรังสีซีเซียม-137หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าโดยปกติกากกัมมันตรังสีจะมีวิธีการจัดการที่สามารถเลือกใช้ได้เช่นการจัดเก็บในภาชนะที่กันการรั่วไหลออกไปได้ง่ายซึ่งอาจมีการปรับสภาพก่อนการจัดเก็บเพื่อให้อยู่ในรูปที่สะดวกต่อการดูแลเนื่องจากต้องจัดเก็บไปจนกว่าซีเซียม-137จะสลายตัวจนอยู่ในระดับที่ปล่อยออกสู่ธรรมชาติหรือกำจัดทิ้งได้ทั้งนี้ซีเซียม-137มีค่าครึ่งชีวิตประมาณ30ปีหมายถึงว่าทุก30ปีจำนวนสารซีเซียม-137จะสลายตัวลดจำนวนไปครึ่งหนึ่งซึ่งตามข้อมูลของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม137ที่สูญหายไปนี้มีค่ากัมมันตภาพรังสีเริ่มต้นที่80มิลลิคูรีโดยเขาใช้งานมาเกือบ30ปีแล้วนั้นหมายถึงว่าวัสดุนี้เหลืออยู่อีก40มิลลิคูรีที่จะสามารถแผ่รังสีออกมาได้และอีก30ปีต่อไปข้างหน้าสารรังสีซีเซียม-137นี้จะสลายตัวไปอีกครึ่งหนึ่งเหลือ20มิลลิคูรีสุดท้ายก็จะสลายต่อไปเรื่อยๆจนอยู่ในระดับต่ำมากสามารถปลดปล่อยสู่ธรรมชาติได้หากผู้ใดในพื้นที่มีความกังวลหรือคาดว่ามีโอกาสประสบกับการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137สามารถติดต่อภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโทร022186781เพื่อช่วยในการตรวจวัดปริมาณรังสีโดยรอบได้จากกรณีข่าว“ท่อวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137”ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำในอ.ศรีมหาโพธิจ.ปราจีนบุรีและตรวจพบภายหลังอาจจะถูกหลอมไปแล้วที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งในจังหวัดปราจีนบุรีนั้นวันนี้(21มี.ค.66)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์เพ่งวาณิชย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระบุว่าจากข้อมูลที่ได้รับทราบจากการรายงานข่าวของสื่อมวลชนที่ว่ามีตรวจพบการปนเปื้อนของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งนั้นซึ่งนี้คือแสดงว่ามีวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ผ่านการแปรสภาพจากสภาพเดิมไปแล้วหรือหมายถึงว่าวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้ผ่านกระบวนการหลอมมาแล้วพร้อมกับโลหะอื่นๆซึ่งระหว่างกระบวนการหลอมสามารถเกิดผงฝุ่นปนเปื้อนวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้เนื่องจากวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137เป็นวัสดุควบคุมกำกับดูแลการใช้งานซึ่งโดยปกติจะไม่มีการส่งจัดการด้วยวิธีการหลอมประกอบกับเงื่อนเวลาที่เกิดเหตุการณ์ขึ้นจึงมีความเป็นไปได้สูงที่ผลของการหลอมมาจากท่อบรรจุวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำที่เจ้าหน้าที่กำลังตามหาอยู่โดยปกติกระบวนการหลอมเหล็กที่ถูกต้องตามมาตรฐานสากลจะเป็นระบบปิดจึงไม่ควรเกิดการฟุ้งกระจายของผงฝุ่นที่เกิดขึ้นออกไปนอกเตาหลอมซึ่งรวมถึงส่วนที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีตัวนี้ด้วยถ้าหากมีการหลอมปนไปกับเหล็กจริงๆ การหลอมจะทำให้สารกัมมันตรังสีที่แต่เดิมมีลักษณะเป็นก้อนเดียวแยกออกจากกันและมีการกระจายตัวออกไปทำให้ปริมาณรังสีที่แผ่ออกมาต่อพื้นที่ลดน้อยลงส่งผลให้หากมีผู้ได้รับรังสีชนิดนี้ก็ได้รับอันตรายจากการได้รับแผ่รังสีน้อยลงเช่นเดียวกัน แต่เนื่องจากสารกัมมันตรังสีกลายเป็นอนุภาคขนาดเล็กๆหรือฝุ่นซึ่งอาจเกิดการฟุ้งกระจายออกไปนอกบริเวณเก็บได้หากมีการปกคลุมไว้ไม่ดีพอทำให้มีโอกาสที่มนุษย์จะสูดดมหรือบริโภคเข้าไปภายในร่างกายได้อย่างไรก็ดีร่างกายมนุษย์มีกลไกที่สามารถกำจัดซีเซียม-137ออกได้หากไม่ได้สูดดมหรือบริโภคเข้าไปในปริมาณมากก็จะไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์ กล่าวต่อว่าโดยปกติแล้วคนมีโอกาสได้รับรังสีจากสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่แพร่กระจายด้วยกัน2วิธีวิธีแรกคือฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137อาจจะฟุ้งมาเกาะตามเสื้อผ้าหรือผิวหนังโดยฝุ่นซีเซียม-137นี้สามารถแผ่รังสีที่ผิวหนังเราได้หากเป็นเช่นนั้นถอดเสื้อผ้าชำระล้างร่างกายทันทีด้วยน้ำเปล่าเราก็สามารถกำจัดฝุ่นหรือผงวัสดุกัมมันตรังสีออกจากร่างกายเราได้วิธีที่สองคือการที่เราสูดดมเอาฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137เข้าไปในร่างกายหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนสารซีเซียม-137หรือที่มาเกาะบริเวณใกล้จมูกหรือปากเราแล้วมีการเผลอเข้าสู่ร่างกายเราก็จะมีการผ่านเข้าไปยังระบบทางเดินอาหารหรือทางเดินหายใจแต่ด้วยสารซีเซียม-137นี้มีคุณสมบัติคล้ายกับโพแทสเซียมแม้ว่าจะกระจายไปตามส่วนต่างๆของร่างกายได้แต่ก็ถูกขับถ่ายออกมาจากร่างกายได้ค่อนข้างเร็วตามกลไกเดียวกันกับโพแทสเซียมหากมีการสะสมจะมีการสะสมตัวอยู่ที่เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อแต่ก็จะสะสมอยู่ไม่นานประมาณ10%สามารถกำจัดออกเร็วโดยจะมีค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพเพียง2วันและส่วนที่เหลือจะถูกกำจัดออกด้วยค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพราว110วันซึ่งหมายความว่าซีเซียมที่ได้รับจะอยู่ในร่างกายไม่กี่เดือนเท่านั้นและการกำจัดจะเกิดขึ้นเร็วกว่าด้วยในเด็กแม้ฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137ที่ผ่านการหลอมแล้วจะยังแผ่รังสีอยู่แต่หากมีการจัดการที่ถูกวิธีก็จะช่วยลดความเป็นไปได้ที่จะส่งผลเสียทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อคนทั่วไปได้เนื่องจากซีเซียม-137ที่ผ่านการหล่อหลอมทำให้ความรุนแรงในการปล่อยรังสีต่อพื้นที่ลดน้อยลงไปมากต้องสัมผัสเป็นเวลานานจึงจะส่งผลใดๆต่อร่างกายส่วนฝุ่นปนเปื้อนซีเซียม-137ค่อนข้างเป็นสารที่มีน้ำหนักทำให้ไม่สามารถกระจายไปตามลมได้ไกลมากนักประกอบกับปริมาณที่ไม่มากเพราะส่วนใหญ่ยังอยู่ที่โรงหลอมการควบคุมพื้นที่ของการปนเปื้อนจึงดำเนินการได้ไม่ยากนักดร.พงษ์แพทย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าทางภาครัฐตระหนักถึงเหตุการณ์ลักษณะนี้ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้และมีกระบวนการในการติดตามและเฝ้าระวังเตรียมไว้พอสมควรแล้วซึ่งเชื่อว่าเป็นไปตามแนวทางที่ปฏิบัติกันในระดับสากลส่วนวิธีการจัดการกับฝุ่นที่ปนเปื้อนสารรังสีซีเซียม-137หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าโดยปกติกากกัมมันตรังสีจะมีวิธีการจัดการที่สามารถเลือกใช้ได้เช่นการจัดเก็บในภาชนะที่กันการรั่วไหลออกไปได้ง่ายซึ่งอาจมีการปรับสภาพก่อนการจัดเก็บเพื่อให้อยู่ในรูปที่สะดวกต่อการดูแลเนื่องจากต้องจัดเก็บไปจนกว่าซีเซียม-137จะสลายตัวจนอยู่ในระดับที่ปล่อยออกสู่ธรรมชาติหรือกำจัดทิ้งได้ทั้งนี้ซีเซียม-137มีค่าครึ่งชีวิตประมาณ30ปีหมายถึงว่าทุก30ปีจำนวนสารซีเซียม-137จะสลายตัวลดจำนวนไปครึ่งหนึ่งซึ่งตามข้อมูลของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม137ที่สูญหายไปนี้มีค่ากัมมันตภาพรังสีเริ่มต้นที่80มิลลิคูรีโดยเขาใช้งานมาเกือบ30ปีแล้วนั้นหมายถึงว่าวัสดุนี้เหลืออยู่อีก40มิลลิคูรีที่จะสามารถแผ่รังสีออกมาได้และอีก30ปีต่อไปข้างหน้าสารรังสีซีเซียม-137นี้จะสลายตัวไปอีกครึ่งหนึ่งเหลือ20มิลลิคูรีสุดท้ายก็จะสลายต่อไปเรื่อยๆจนอยู่ในระดับต่ำมากสามารถปลดปล่อยสู่ธรรมชาติได้หากผู้ใดในพื้นที่มีความกังวลหรือคาดว่ามีโอกาสประสบกับการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137สามารถติดต่อภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโทร022186781เพื่อช่วยในการตรวจวัดปริมาณรังสีโดยรอบได้...

วิศวะ จุฬาฯ รับตรวจ ซีเซียม-137 ให้กับประชาชนที่กังวลได้รับรังสีจากกรณีข่าว“ท่อวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137”ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำในอ.ศรีมหาโพธิจ.ปราจีนบุรีและตรวจพบภายหลังอาจจะถูกหลอมไปแล้วที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งในจังหวัดปราจีนบุรีนั้นวันนี้(21มี.ค.66)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์เพ่งวาณิชย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระบุว่าจากข้อมูลที่ได้รับทราบจากการรายงานข่าวของสื่อมวลชนที่ว่ามีตรวจพบการปนเปื้อนของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งนั้นซึ่งนี้คือแสดงว่ามีวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ผ่านการแปรสภาพจากสภาพเดิมไปแล้วหรือหมายถึงว่าวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้ผ่านกระบวนการหลอมมาแล้วพร้อมกับโลหะอื่นๆซึ่งระหว่างกระบวนการหลอมสามารถเกิดผงฝุ่นปนเปื้อนวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้เนื่องจากวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137เป็นวัสดุควบคุมกำกับดูแลการใช้งานซึ่งโดยปกติจะไม่มีการส่งจัดการด้วยวิธีการหลอมประกอบกับเงื่อนเวลาที่เกิดเหตุการณ์ขึ้นจึงมีความเป็นไปได้สูงที่ผลของการหลอมมาจากท่อบรรจุวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำที่เจ้าหน้าที่กำลังตามหาอยู่โดยปกติกระบวนการหลอมเหล็กที่ถูกต้องตามมาตรฐานสากลจะเป็นระบบปิดจึงไม่ควรเกิดการฟุ้งกระจายของผงฝุ่นที่เกิดขึ้นออกไปนอกเตาหลอมซึ่งรวมถึงส่วนที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีตัวนี้ด้วยถ้าหากมีการหลอมปนไปกับเหล็กจริงๆ การหลอมจะทำให้สารกัมมันตรังสีที่แต่เดิมมีลักษณะเป็นก้อนเดียวแยกออกจากกันและมีการกระจายตัวออกไปทำให้ปริมาณรังสีที่แผ่ออกมาต่อพื้นที่ลดน้อยลงส่งผลให้หากมีผู้ได้รับรังสีชนิดนี้ก็ได้รับอันตรายจากการได้รับแผ่รังสีน้อยลงเช่นเดียวกัน แต่เนื่องจากสารกัมมันตรังสีกลายเป็นอนุภาคขนาดเล็กๆหรือฝุ่นซึ่งอาจเกิดการฟุ้งกระจายออกไปนอกบริเวณเก็บได้หากมีการปกคลุมไว้ไม่ดีพอทำให้มีโอกาสที่มนุษย์จะสูดดมหรือบริโภคเข้าไปภายในร่างกายได้อย่างไรก็ดีร่างกายมนุษย์มีกลไกที่สามารถกำจัดซีเซียม-137ออกได้หากไม่ได้สูดดมหรือบริโภคเข้าไปในปริมาณมากก็จะไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์ กล่าวต่อว่าโดยปกติแล้วคนมีโอกาสได้รับรังสีจากสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่แพร่กระจายด้วยกัน2วิธีวิธีแรกคือฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137อาจจะฟุ้งมาเกาะตามเสื้อผ้าหรือผิวหนังโดยฝุ่นซีเซียม-137นี้สามารถแผ่รังสีที่ผิวหนังเราได้หากเป็นเช่นนั้นถอดเสื้อผ้าชำระล้างร่างกายทันทีด้วยน้ำเปล่าเราก็สามารถกำจัดฝุ่นหรือผงวัสดุกัมมันตรังสีออกจากร่างกายเราได้วิธีที่สองคือการที่เราสูดดมเอาฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137เข้าไปในร่างกายหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนสารซีเซียม-137หรือที่มาเกาะบริเวณใกล้จมูกหรือปากเราแล้วมีการเผลอเข้าสู่ร่างกายเราก็จะมีการผ่านเข้าไปยังระบบทางเดินอาหารหรือทางเดินหายใจแต่ด้วยสารซีเซียม-137นี้มีคุณสมบัติคล้ายกับโพแทสเซียมแม้ว่าจะกระจายไปตามส่วนต่างๆของร่างกายได้แต่ก็ถูกขับถ่ายออกมาจากร่างกายได้ค่อนข้างเร็วตามกลไกเดียวกันกับโพแทสเซียมหากมีการสะสมจะมีการสะสมตัวอยู่ที่เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อแต่ก็จะสะสมอยู่ไม่นานประมาณ10%สามารถกำจัดออกเร็วโดยจะมีค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพเพียง2วันและส่วนที่เหลือจะถูกกำจัดออกด้วยค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพราว110วันซึ่งหมายความว่าซีเซียมที่ได้รับจะอยู่ในร่างกายไม่กี่เดือนเท่านั้นและการกำจัดจะเกิดขึ้นเร็วกว่าด้วยในเด็กแม้ฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137ที่ผ่านการหลอมแล้วจะยังแผ่รังสีอยู่แต่หากมีการจัดการที่ถูกวิธีก็จะช่วยลดความเป็นไปได้ที่จะส่งผลเสียทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อคนทั่วไปได้เนื่องจากซีเซียม-137ที่ผ่านการหล่อหลอมทำให้ความรุนแรงในการปล่อยรังสีต่อพื้นที่ลดน้อยลงไปมากต้องสัมผัสเป็นเวลานานจึงจะส่งผลใดๆต่อร่างกายส่วนฝุ่นปนเปื้อนซีเซียม-137ค่อนข้างเป็นสารที่มีน้ำหนักทำให้ไม่สามารถกระจายไปตามลมได้ไกลมากนักประกอบกับปริมาณที่ไม่มากเพราะส่วนใหญ่ยังอยู่ที่โรงหลอมการควบคุมพื้นที่ของการปนเปื้อนจึงดำเนินการได้ไม่ยากนักดร.พงษ์แพทย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าทางภาครัฐตระหนักถึงเหตุการณ์ลักษณะนี้ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้และมีกระบวนการในการติดตามและเฝ้าระวังเตรียมไว้พอสมควรแล้วซึ่งเชื่อว่าเป็นไปตามแนวทางที่ปฏิบัติกันในระดับสากลส่วนวิธีการจัดการกับฝุ่นที่ปนเปื้อนสารรังสีซีเซียม-137หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าโดยปกติกากกัมมันตรังสีจะมีวิธีการจัดการที่สามารถเลือกใช้ได้เช่นการจัดเก็บในภาชนะที่กันการรั่วไหลออกไปได้ง่ายซึ่งอาจมีการปรับสภาพก่อนการจัดเก็บเพื่อให้อยู่ในรูปที่สะดวกต่อการดูแลเนื่องจากต้องจัดเก็บไปจนกว่าซีเซียม-137จะสลายตัวจนอยู่ในระดับที่ปล่อยออกสู่ธรรมชาติหรือกำจัดทิ้งได้ทั้งนี้ซีเซียม-137มีค่าครึ่งชีวิตประมาณ30ปีหมายถึงว่าทุก30ปีจำนวนสารซีเซียม-137จะสลายตัวลดจำนวนไปครึ่งหนึ่งซึ่งตามข้อมูลของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม137ที่สูญหายไปนี้มีค่ากัมมันตภาพรังสีเริ่มต้นที่80มิลลิคูรีโดยเขาใช้งานมาเกือบ30ปีแล้วนั้นหมายถึงว่าวัสดุนี้เหลืออยู่อีก40มิลลิคูรีที่จะสามารถแผ่รังสีออกมาได้และอีก30ปีต่อไปข้างหน้าสารรังสีซีเซียม-137นี้จะสลายตัวไปอีกครึ่งหนึ่งเหลือ20มิลลิคูรีสุดท้ายก็จะสลายต่อไปเรื่อยๆจนอยู่ในระดับต่ำมากสามารถปลดปล่อยสู่ธรรมชาติได้หากผู้ใดในพื้นที่มีความกังวลหรือคาดว่ามีโอกาสประสบกับการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137สามารถติดต่อภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโทร022186781เพื่อช่วยในการตรวจวัดปริมาณรังสีโดยรอบได้วิศวะ จุฬาฯ รับตรวจ ซีเซียม-137 ให้กับประชาชนที่กังวลได้รับรังสีจากกรณีข่าว“ท่อวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137”ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำในอ.ศรีมหาโพธิจ.ปราจีนบุรีและตรวจพบภายหลังอาจจะถูกหลอมไปแล้วที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งในจังหวัดปราจีนบุรีนั้นวันนี้(21มี.ค.66)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์เพ่งวาณิชย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระบุว่าจากข้อมูลที่ได้รับทราบจากการรายงานข่าวของสื่อมวลชนที่ว่ามีตรวจพบการปนเปื้อนของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งนั้นซึ่งนี้คือแสดงว่ามีวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ผ่านการแปรสภาพจากสภาพเดิมไปแล้วหรือหมายถึงว่าวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้ผ่านกระบวนการหลอมมาแล้วพร้อมกับโลหะอื่นๆซึ่งระหว่างกระบวนการหลอมสามารถเกิดผงฝุ่นปนเปื้อนวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้เนื่องจากวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137เป็นวัสดุควบคุมกำกับดูแลการใช้งานซึ่งโดยปกติจะไม่มีการส่งจัดการด้วยวิธีการหลอมประกอบกับเงื่อนเวลาที่เกิดเหตุการณ์ขึ้นจึงมีความเป็นไปได้สูงที่ผลของการหลอมมาจากท่อบรรจุวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำที่เจ้าหน้าที่กำลังตามหาอยู่โดยปกติกระบวนการหลอมเหล็กที่ถูกต้องตามมาตรฐานสากลจะเป็นระบบปิดจึงไม่ควรเกิดการฟุ้งกระจายของผงฝุ่นที่เกิดขึ้นออกไปนอกเตาหลอมซึ่งรวมถึงส่วนที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีตัวนี้ด้วยถ้าหากมีการหลอมปนไปกับเหล็กจริงๆ การหลอมจะทำให้สารกัมมันตรังสีที่แต่เดิมมีลักษณะเป็นก้อนเดียวแยกออกจากกันและมีการกระจายตัวออกไปทำให้ปริมาณรังสีที่แผ่ออกมาต่อพื้นที่ลดน้อยลงส่งผลให้หากมีผู้ได้รับรังสีชนิดนี้ก็ได้รับอันตรายจากการได้รับแผ่รังสีน้อยลงเช่นเดียวกัน แต่เนื่องจากสารกัมมันตรังสีกลายเป็นอนุภาคขนาดเล็กๆหรือฝุ่นซึ่งอาจเกิดการฟุ้งกระจายออกไปนอกบริเวณเก็บได้หากมีการปกคลุมไว้ไม่ดีพอทำให้มีโอกาสที่มนุษย์จะสูดดมหรือบริโภคเข้าไปภายในร่างกายได้อย่างไรก็ดีร่างกายมนุษย์มีกลไกที่สามารถกำจัดซีเซียม-137ออกได้หากไม่ได้สูดดมหรือบริโภคเข้าไปในปริมาณมากก็จะไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์ กล่าวต่อว่าโดยปกติแล้วคนมีโอกาสได้รับรังสีจากสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่แพร่กระจายด้วยกัน2วิธีวิธีแรกคือฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137อาจจะฟุ้งมาเกาะตามเสื้อผ้าหรือผิวหนังโดยฝุ่นซีเซียม-137นี้สามารถแผ่รังสีที่ผิวหนังเราได้หากเป็นเช่นนั้นถอดเสื้อผ้าชำระล้างร่างกายทันทีด้วยน้ำเปล่าเราก็สามารถกำจัดฝุ่นหรือผงวัสดุกัมมันตรังสีออกจากร่างกายเราได้วิธีที่สองคือการที่เราสูดดมเอาฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137เข้าไปในร่างกายหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนสารซีเซียม-137หรือที่มาเกาะบริเวณใกล้จมูกหรือปากเราแล้วมีการเผลอเข้าสู่ร่างกายเราก็จะมีการผ่านเข้าไปยังระบบทางเดินอาหารหรือทางเดินหายใจแต่ด้วยสารซีเซียม-137นี้มีคุณสมบัติคล้ายกับโพแทสเซียมแม้ว่าจะกระจายไปตามส่วนต่างๆของร่างกายได้แต่ก็ถูกขับถ่ายออกมาจากร่างกายได้ค่อนข้างเร็วตามกลไกเดียวกันกับโพแทสเซียมหากมีการสะสมจะมีการสะสมตัวอยู่ที่เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อแต่ก็จะสะสมอยู่ไม่นานประมาณ10%สามารถกำจัดออกเร็วโดยจะมีค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพเพียง2วันและส่วนที่เหลือจะถูกกำจัดออกด้วยค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพราว110วันซึ่งหมายความว่าซีเซียมที่ได้รับจะอยู่ในร่างกายไม่กี่เดือนเท่านั้นและการกำจัดจะเกิดขึ้นเร็วกว่าด้วยในเด็กแม้ฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137ที่ผ่านการหลอมแล้วจะยังแผ่รังสีอยู่แต่หากมีการจัดการที่ถูกวิธีก็จะช่วยลดความเป็นไปได้ที่จะส่งผลเสียทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อคนทั่วไปได้เนื่องจากซีเซียม-137ที่ผ่านการหล่อหลอมทำให้ความรุนแรงในการปล่อยรังสีต่อพื้นที่ลดน้อยลงไปมากต้องสัมผัสเป็นเวลานานจึงจะส่งผลใดๆต่อร่างกายส่วนฝุ่นปนเปื้อนซีเซียม-137ค่อนข้างเป็นสารที่มีน้ำหนักทำให้ไม่สามารถกระจายไปตามลมได้ไกลมากนักประกอบกับปริมาณที่ไม่มากเพราะส่วนใหญ่ยังอยู่ที่โรงหลอมการควบคุมพื้นที่ของการปนเปื้อนจึงดำเนินการได้ไม่ยากนักดร.พงษ์แพทย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าทางภาครัฐตระหนักถึงเหตุการณ์ลักษณะนี้ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้และมีกระบวนการในการติดตามและเฝ้าระวังเตรียมไว้พอสมควรแล้วซึ่งเชื่อว่าเป็นไปตามแนวทางที่ปฏิบัติกันในระดับสากลส่วนวิธีการจัดการกับฝุ่นที่ปนเปื้อนสารรังสีซีเซียม-137หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าโดยปกติกากกัมมันตรังสีจะมีวิธีการจัดการที่สามารถเลือกใช้ได้เช่นการจัดเก็บในภาชนะที่กันการรั่วไหลออกไปได้ง่ายซึ่งอาจมีการปรับสภาพก่อนการจัดเก็บเพื่อให้อยู่ในรูปที่สะดวกต่อการดูแลเนื่องจากต้องจัดเก็บไปจนกว่าซีเซียม-137จะสลายตัวจนอยู่ในระดับที่ปล่อยออกสู่ธรรมชาติหรือกำจัดทิ้งได้ทั้งนี้ซีเซียม-137มีค่าครึ่งชีวิตประมาณ30ปีหมายถึงว่าทุก30ปีจำนวนสารซีเซียม-137จะสลายตัวลดจำนวนไปครึ่งหนึ่งซึ่งตามข้อมูลของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม137ที่สูญหายไปนี้มีค่ากัมมันตภาพรังสีเริ่มต้นที่80มิลลิคูรีโดยเขาใช้งานมาเกือบ30ปีแล้วนั้นหมายถึงว่าวัสดุนี้เหลืออยู่อีก40มิลลิคูรีที่จะสามารถแผ่รังสีออกมาได้และอีก30ปีต่อไปข้างหน้าสารรังสีซีเซียม-137นี้จะสลายตัวไปอีกครึ่งหนึ่งเหลือ20มิลลิคูรีสุดท้ายก็จะสลายต่อไปเรื่อยๆจนอยู่ในระดับต่ำมากสามารถปลดปล่อยสู่ธรรมชาติได้หากผู้ใดในพื้นที่มีความกังวลหรือคาดว่ามีโอกาสประสบกับการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137สามารถติดต่อภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโทร022186781เพื่อช่วยในการตรวจวัดปริมาณรังสีโดยรอบได้...

จากกรณีข่าว“ท่อวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137”ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำในอ.ศรีมหาโพธิจ.ปราจีนบุรีและตรวจพบภายหลังอาจจะถูกหลอมไปแล้วที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งในจังหวัดปราจีนบุรีนั้นวันนี้(21มี.ค.66)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์เพ่งวาณิชย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระบุว่าจากข้อมูลที่ได้รับทราบจากการรายงานข่าวของสื่อมวลชนที่ว่ามีตรวจพบการปนเปื้อนของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งนั้นซึ่งนี้คือแสดงว่ามีวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ผ่านการแปรสภาพจากสภาพเดิมไปแล้วหรือหมายถึงว่าวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้ผ่านกระบวนการหลอมมาแล้วพร้อมกับโลหะอื่นๆซึ่งระหว่างกระบวนการหลอมสามารถเกิดผงฝุ่นปนเปื้อนวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้เนื่องจากวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137เป็นวัสดุควบคุมกำกับดูแลการใช้งานซึ่งโดยปกติจะไม่มีการส่งจัดการด้วยวิธีการหลอมประกอบกับเงื่อนเวลาที่เกิดเหตุการณ์ขึ้นจึงมีความเป็นไปได้สูงที่ผลของการหลอมมาจากท่อบรรจุวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำที่เจ้าหน้าที่กำลังตามหาอยู่โดยปกติกระบวนการหลอมเหล็กที่ถูกต้องตามมาตรฐานสากลจะเป็นระบบปิดจึงไม่ควรเกิดการฟุ้งกระจายของผงฝุ่นที่เกิดขึ้นออกไปนอกเตาหลอมซึ่งรวมถึงส่วนที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีตัวนี้ด้วยถ้าหากมีการหลอมปนไปกับเหล็กจริงๆ การหลอมจะทำให้สารกัมมันตรังสีที่แต่เดิมมีลักษณะเป็นก้อนเดียวแยกออกจากกันและมีการกระจายตัวออกไปทำให้ปริมาณรังสีที่แผ่ออกมาต่อพื้นที่ลดน้อยลงส่งผลให้หากมีผู้ได้รับรังสีชนิดนี้ก็ได้รับอันตรายจากการได้รับแผ่รังสีน้อยลงเช่นเดียวกัน แต่เนื่องจากสารกัมมันตรังสีกลายเป็นอนุภาคขนาดเล็กๆหรือฝุ่นซึ่งอาจเกิดการฟุ้งกระจายออกไปนอกบริเวณเก็บได้หากมีการปกคลุมไว้ไม่ดีพอทำให้มีโอกาสที่มนุษย์จะสูดดมหรือบริโภคเข้าไปภายในร่างกายได้อย่างไรก็ดีร่างกายมนุษย์มีกลไกที่สามารถกำจัดซีเซียม-137ออกได้หากไม่ได้สูดดมหรือบริโภคเข้าไปในปริมาณมากก็จะไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์ กล่าวต่อว่าโดยปกติแล้วคนมีโอกาสได้รับรังสีจากสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่แพร่กระจายด้วยกัน2วิธีวิธีแรกคือฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137อาจจะฟุ้งมาเกาะตามเสื้อผ้าหรือผิวหนังโดยฝุ่นซีเซียม-137นี้สามารถแผ่รังสีที่ผิวหนังเราได้หากเป็นเช่นนั้นถอดเสื้อผ้าชำระล้างร่างกายทันทีด้วยน้ำเปล่าเราก็สามารถกำจัดฝุ่นหรือผงวัสดุกัมมันตรังสีออกจากร่างกายเราได้วิธีที่สองคือการที่เราสูดดมเอาฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137เข้าไปในร่างกายหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนสารซีเซียม-137หรือที่มาเกาะบริเวณใกล้จมูกหรือปากเราแล้วมีการเผลอเข้าสู่ร่างกายเราก็จะมีการผ่านเข้าไปยังระบบทางเดินอาหารหรือทางเดินหายใจแต่ด้วยสารซีเซียม-137นี้มีคุณสมบัติคล้ายกับโพแทสเซียมแม้ว่าจะกระจายไปตามส่วนต่างๆของร่างกายได้แต่ก็ถูกขับถ่ายออกมาจากร่างกายได้ค่อนข้างเร็วตามกลไกเดียวกันกับโพแทสเซียมหากมีการสะสมจะมีการสะสมตัวอยู่ที่เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อแต่ก็จะสะสมอยู่ไม่นานประมาณ10%สามารถกำจัดออกเร็วโดยจะมีค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพเพียง2วันและส่วนที่เหลือจะถูกกำจัดออกด้วยค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพราว110วันซึ่งหมายความว่าซีเซียมที่ได้รับจะอยู่ในร่างกายไม่กี่เดือนเท่านั้นและการกำจัดจะเกิดขึ้นเร็วกว่าด้วยในเด็กแม้ฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137ที่ผ่านการหลอมแล้วจะยังแผ่รังสีอยู่แต่หากมีการจัดการที่ถูกวิธีก็จะช่วยลดความเป็นไปได้ที่จะส่งผลเสียทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อคนทั่วไปได้เนื่องจากซีเซียม-137ที่ผ่านการหล่อหลอมทำให้ความรุนแรงในการปล่อยรังสีต่อพื้นที่ลดน้อยลงไปมากต้องสัมผัสเป็นเวลานานจึงจะส่งผลใดๆต่อร่างกายส่วนฝุ่นปนเปื้อนซีเซียม-137ค่อนข้างเป็นสารที่มีน้ำหนักทำให้ไม่สามารถกระจายไปตามลมได้ไกลมากนักประกอบกับปริมาณที่ไม่มากเพราะส่วนใหญ่ยังอยู่ที่โรงหลอมการควบคุมพื้นที่ของการปนเปื้อนจึงดำเนินการได้ไม่ยากนักดร.พงษ์แพทย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าทางภาครัฐตระหนักถึงเหตุการณ์ลักษณะนี้ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้และมีกระบวนการในการติดตามและเฝ้าระวังเตรียมไว้พอสมควรแล้วซึ่งเชื่อว่าเป็นไปตามแนวทางที่ปฏิบัติกันในระดับสากลส่วนวิธีการจัดการกับฝุ่นที่ปนเปื้อนสารรังสีซีเซียม-137หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าโดยปกติกากกัมมันตรังสีจะมีวิธีการจัดการที่สามารถเลือกใช้ได้เช่นการจัดเก็บในภาชนะที่กันการรั่วไหลออกไปได้ง่ายซึ่งอาจมีการปรับสภาพก่อนการจัดเก็บเพื่อให้อยู่ในรูปที่สะดวกต่อการดูแลเนื่องจากต้องจัดเก็บไปจนกว่าซีเซียม-137จะสลายตัวจนอยู่ในระดับที่ปล่อยออกสู่ธรรมชาติหรือกำจัดทิ้งได้ทั้งนี้ซีเซียม-137มีค่าครึ่งชีวิตประมาณ30ปีหมายถึงว่าทุก30ปีจำนวนสารซีเซียม-137จะสลายตัวลดจำนวนไปครึ่งหนึ่งซึ่งตามข้อมูลของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม137ที่สูญหายไปนี้มีค่ากัมมันตภาพรังสีเริ่มต้นที่80มิลลิคูรีโดยเขาใช้งานมาเกือบ30ปีแล้วนั้นหมายถึงว่าวัสดุนี้เหลืออยู่อีก40มิลลิคูรีที่จะสามารถแผ่รังสีออกมาได้และอีก30ปีต่อไปข้างหน้าสารรังสีซีเซียม-137นี้จะสลายตัวไปอีกครึ่งหนึ่งเหลือ20มิลลิคูรีสุดท้ายก็จะสลายต่อไปเรื่อยๆจนอยู่ในระดับต่ำมากสามารถปลดปล่อยสู่ธรรมชาติได้หากผู้ใดในพื้นที่มีความกังวลหรือคาดว่ามีโอกาสประสบกับการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137สามารถติดต่อภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโทร022186781เพื่อช่วยในการตรวจวัดปริมาณรังสีโดยรอบได้จากกรณีข่าว“ท่อวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137”ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำในอ.ศรีมหาโพธิจ.ปราจีนบุรีและตรวจพบภายหลังอาจจะถูกหลอมไปแล้วที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งในจังหวัดปราจีนบุรีนั้นวันนี้(21มี.ค.66)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์เพ่งวาณิชย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระบุว่าจากข้อมูลที่ได้รับทราบจากการรายงานข่าวของสื่อมวลชนที่ว่ามีตรวจพบการปนเปื้อนของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งนั้นซึ่งนี้คือแสดงว่ามีวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ผ่านการแปรสภาพจากสภาพเดิมไปแล้วหรือหมายถึงว่าวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้ผ่านกระบวนการหลอมมาแล้วพร้อมกับโลหะอื่นๆซึ่งระหว่างกระบวนการหลอมสามารถเกิดผงฝุ่นปนเปื้อนวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้เนื่องจากวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137เป็นวัสดุควบคุมกำกับดูแลการใช้งานซึ่งโดยปกติจะไม่มีการส่งจัดการด้วยวิธีการหลอมประกอบกับเงื่อนเวลาที่เกิดเหตุการณ์ขึ้นจึงมีความเป็นไปได้สูงที่ผลของการหลอมมาจากท่อบรรจุวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำที่เจ้าหน้าที่กำลังตามหาอยู่โดยปกติกระบวนการหลอมเหล็กที่ถูกต้องตามมาตรฐานสากลจะเป็นระบบปิดจึงไม่ควรเกิดการฟุ้งกระจายของผงฝุ่นที่เกิดขึ้นออกไปนอกเตาหลอมซึ่งรวมถึงส่วนที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีตัวนี้ด้วยถ้าหากมีการหลอมปนไปกับเหล็กจริงๆ การหลอมจะทำให้สารกัมมันตรังสีที่แต่เดิมมีลักษณะเป็นก้อนเดียวแยกออกจากกันและมีการกระจายตัวออกไปทำให้ปริมาณรังสีที่แผ่ออกมาต่อพื้นที่ลดน้อยลงส่งผลให้หากมีผู้ได้รับรังสีชนิดนี้ก็ได้รับอันตรายจากการได้รับแผ่รังสีน้อยลงเช่นเดียวกัน แต่เนื่องจากสารกัมมันตรังสีกลายเป็นอนุภาคขนาดเล็กๆหรือฝุ่นซึ่งอาจเกิดการฟุ้งกระจายออกไปนอกบริเวณเก็บได้หากมีการปกคลุมไว้ไม่ดีพอทำให้มีโอกาสที่มนุษย์จะสูดดมหรือบริโภคเข้าไปภายในร่างกายได้อย่างไรก็ดีร่างกายมนุษย์มีกลไกที่สามารถกำจัดซีเซียม-137ออกได้หากไม่ได้สูดดมหรือบริโภคเข้าไปในปริมาณมากก็จะไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์ กล่าวต่อว่าโดยปกติแล้วคนมีโอกาสได้รับรังสีจากสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่แพร่กระจายด้วยกัน2วิธีวิธีแรกคือฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137อาจจะฟุ้งมาเกาะตามเสื้อผ้าหรือผิวหนังโดยฝุ่นซีเซียม-137นี้สามารถแผ่รังสีที่ผิวหนังเราได้หากเป็นเช่นนั้นถอดเสื้อผ้าชำระล้างร่างกายทันทีด้วยน้ำเปล่าเราก็สามารถกำจัดฝุ่นหรือผงวัสดุกัมมันตรังสีออกจากร่างกายเราได้วิธีที่สองคือการที่เราสูดดมเอาฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137เข้าไปในร่างกายหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนสารซีเซียม-137หรือที่มาเกาะบริเวณใกล้จมูกหรือปากเราแล้วมีการเผลอเข้าสู่ร่างกายเราก็จะมีการผ่านเข้าไปยังระบบทางเดินอาหารหรือทางเดินหายใจแต่ด้วยสารซีเซียม-137นี้มีคุณสมบัติคล้ายกับโพแทสเซียมแม้ว่าจะกระจายไปตามส่วนต่างๆของร่างกายได้แต่ก็ถูกขับถ่ายออกมาจากร่างกายได้ค่อนข้างเร็วตามกลไกเดียวกันกับโพแทสเซียมหากมีการสะสมจะมีการสะสมตัวอยู่ที่เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อแต่ก็จะสะสมอยู่ไม่นานประมาณ10%สามารถกำจัดออกเร็วโดยจะมีค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพเพียง2วันและส่วนที่เหลือจะถูกกำจัดออกด้วยค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพราว110วันซึ่งหมายความว่าซีเซียมที่ได้รับจะอยู่ในร่างกายไม่กี่เดือนเท่านั้นและการกำจัดจะเกิดขึ้นเร็วกว่าด้วยในเด็กแม้ฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137ที่ผ่านการหลอมแล้วจะยังแผ่รังสีอยู่แต่หากมีการจัดการที่ถูกวิธีก็จะช่วยลดความเป็นไปได้ที่จะส่งผลเสียทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อคนทั่วไปได้เนื่องจากซีเซียม-137ที่ผ่านการหล่อหลอมทำให้ความรุนแรงในการปล่อยรังสีต่อพื้นที่ลดน้อยลงไปมากต้องสัมผัสเป็นเวลานานจึงจะส่งผลใดๆต่อร่างกายส่วนฝุ่นปนเปื้อนซีเซียม-137ค่อนข้างเป็นสารที่มีน้ำหนักทำให้ไม่สามารถกระจายไปตามลมได้ไกลมากนักประกอบกับปริมาณที่ไม่มากเพราะส่วนใหญ่ยังอยู่ที่โรงหลอมการควบคุมพื้นที่ของการปนเปื้อนจึงดำเนินการได้ไม่ยากนักดร.พงษ์แพทย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าทางภาครัฐตระหนักถึงเหตุการณ์ลักษณะนี้ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้และมีกระบวนการในการติดตามและเฝ้าระวังเตรียมไว้พอสมควรแล้วซึ่งเชื่อว่าเป็นไปตามแนวทางที่ปฏิบัติกันในระดับสากลส่วนวิธีการจัดการกับฝุ่นที่ปนเปื้อนสารรังสีซีเซียม-137หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าโดยปกติกากกัมมันตรังสีจะมีวิธีการจัดการที่สามารถเลือกใช้ได้เช่นการจัดเก็บในภาชนะที่กันการรั่วไหลออกไปได้ง่ายซึ่งอาจมีการปรับสภาพก่อนการจัดเก็บเพื่อให้อยู่ในรูปที่สะดวกต่อการดูแลเนื่องจากต้องจัดเก็บไปจนกว่าซีเซียม-137จะสลายตัวจนอยู่ในระดับที่ปล่อยออกสู่ธรรมชาติหรือกำจัดทิ้งได้ทั้งนี้ซีเซียม-137มีค่าครึ่งชีวิตประมาณ30ปีหมายถึงว่าทุก30ปีจำนวนสารซีเซียม-137จะสลายตัวลดจำนวนไปครึ่งหนึ่งซึ่งตามข้อมูลของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม137ที่สูญหายไปนี้มีค่ากัมมันตภาพรังสีเริ่มต้นที่80มิลลิคูรีโดยเขาใช้งานมาเกือบ30ปีแล้วนั้นหมายถึงว่าวัสดุนี้เหลืออยู่อีก40มิลลิคูรีที่จะสามารถแผ่รังสีออกมาได้และอีก30ปีต่อไปข้างหน้าสารรังสีซีเซียม-137นี้จะสลายตัวไปอีกครึ่งหนึ่งเหลือ20มิลลิคูรีสุดท้ายก็จะสลายต่อไปเรื่อยๆจนอยู่ในระดับต่ำมากสามารถปลดปล่อยสู่ธรรมชาติได้หากผู้ใดในพื้นที่มีความกังวลหรือคาดว่ามีโอกาสประสบกับการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137สามารถติดต่อภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโทร022186781เพื่อช่วยในการตรวจวัดปริมาณรังสีโดยรอบได้วิศวะ จุฬาฯ รับตรวจ ซีเซียม-137 ให้กับประชาชนที่กังวลได้รับรังสีจากกรณีข่าว“ท่อวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137”ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำในอ.ศรีมหาโพธิจ.ปราจีนบุรีและตรวจพบภายหลังอาจจะถูกหลอมไปแล้วที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งในจังหวัดปราจีนบุรีนั้นวันนี้(21มี.ค.66)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์เพ่งวาณิชย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระบุว่าจากข้อมูลที่ได้รับทราบจากการรายงานข่าวของสื่อมวลชนที่ว่ามีตรวจพบการปนเปื้อนของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งนั้นซึ่งนี้คือแสดงว่ามีวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ผ่านการแปรสภาพจากสภาพเดิมไปแล้วหรือหมายถึงว่าวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้ผ่านกระบวนการหลอมมาแล้วพร้อมกับโลหะอื่นๆซึ่งระหว่างกระบวนการหลอมสามารถเกิดผงฝุ่นปนเปื้อนวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้เนื่องจากวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137เป็นวัสดุควบคุมกำกับดูแลการใช้งานซึ่งโดยปกติจะไม่มีการส่งจัดการด้วยวิธีการหลอมประกอบกับเงื่อนเวลาที่เกิดเหตุการณ์ขึ้นจึงมีความเป็นไปได้สูงที่ผลของการหลอมมาจากท่อบรรจุวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำที่เจ้าหน้าที่กำลังตามหาอยู่โดยปกติกระบวนการหลอมเหล็กที่ถูกต้องตามมาตรฐานสากลจะเป็นระบบปิดจึงไม่ควรเกิดการฟุ้งกระจายของผงฝุ่นที่เกิดขึ้นออกไปนอกเตาหลอมซึ่งรวมถึงส่วนที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีตัวนี้ด้วยถ้าหากมีการหลอมปนไปกับเหล็กจริงๆ การหลอมจะทำให้สารกัมมันตรังสีที่แต่เดิมมีลักษณะเป็นก้อนเดียวแยกออกจากกันและมีการกระจายตัวออกไปทำให้ปริมาณรังสีที่แผ่ออกมาต่อพื้นที่ลดน้อยลงส่งผลให้หากมีผู้ได้รับรังสีชนิดนี้ก็ได้รับอันตรายจากการได้รับแผ่รังสีน้อยลงเช่นเดียวกัน แต่เนื่องจากสารกัมมันตรังสีกลายเป็นอนุภาคขนาดเล็กๆหรือฝุ่นซึ่งอาจเกิดการฟุ้งกระจายออกไปนอกบริเวณเก็บได้หากมีการปกคลุมไว้ไม่ดีพอทำให้มีโอกาสที่มนุษย์จะสูดดมหรือบริโภคเข้าไปภายในร่างกายได้อย่างไรก็ดีร่างกายมนุษย์มีกลไกที่สามารถกำจัดซีเซียม-137ออกได้หากไม่ได้สูดดมหรือบริโภคเข้าไปในปริมาณมากก็จะไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์ กล่าวต่อว่าโดยปกติแล้วคนมีโอกาสได้รับรังสีจากสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่แพร่กระจายด้วยกัน2วิธีวิธีแรกคือฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137อาจจะฟุ้งมาเกาะตามเสื้อผ้าหรือผิวหนังโดยฝุ่นซีเซียม-137นี้สามารถแผ่รังสีที่ผิวหนังเราได้หากเป็นเช่นนั้นถอดเสื้อผ้าชำระล้างร่างกายทันทีด้วยน้ำเปล่าเราก็สามารถกำจัดฝุ่นหรือผงวัสดุกัมมันตรังสีออกจากร่างกายเราได้วิธีที่สองคือการที่เราสูดดมเอาฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137เข้าไปในร่างกายหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนสารซีเซียม-137หรือที่มาเกาะบริเวณใกล้จมูกหรือปากเราแล้วมีการเผลอเข้าสู่ร่างกายเราก็จะมีการผ่านเข้าไปยังระบบทางเดินอาหารหรือทางเดินหายใจแต่ด้วยสารซีเซียม-137นี้มีคุณสมบัติคล้ายกับโพแทสเซียมแม้ว่าจะกระจายไปตามส่วนต่างๆของร่างกายได้แต่ก็ถูกขับถ่ายออกมาจากร่างกายได้ค่อนข้างเร็วตามกลไกเดียวกันกับโพแทสเซียมหากมีการสะสมจะมีการสะสมตัวอยู่ที่เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อแต่ก็จะสะสมอยู่ไม่นานประมาณ10%สามารถกำจัดออกเร็วโดยจะมีค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพเพียง2วันและส่วนที่เหลือจะถูกกำจัดออกด้วยค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพราว110วันซึ่งหมายความว่าซีเซียมที่ได้รับจะอยู่ในร่างกายไม่กี่เดือนเท่านั้นและการกำจัดจะเกิดขึ้นเร็วกว่าด้วยในเด็กแม้ฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137ที่ผ่านการหลอมแล้วจะยังแผ่รังสีอยู่แต่หากมีการจัดการที่ถูกวิธีก็จะช่วยลดความเป็นไปได้ที่จะส่งผลเสียทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อคนทั่วไปได้เนื่องจากซีเซียม-137ที่ผ่านการหล่อหลอมทำให้ความรุนแรงในการปล่อยรังสีต่อพื้นที่ลดน้อยลงไปมากต้องสัมผัสเป็นเวลานานจึงจะส่งผลใดๆต่อร่างกายส่วนฝุ่นปนเปื้อนซีเซียม-137ค่อนข้างเป็นสารที่มีน้ำหนักทำให้ไม่สามารถกระจายไปตามลมได้ไกลมากนักประกอบกับปริมาณที่ไม่มากเพราะส่วนใหญ่ยังอยู่ที่โรงหลอมการควบคุมพื้นที่ของการปนเปื้อนจึงดำเนินการได้ไม่ยากนักดร.พงษ์แพทย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าทางภาครัฐตระหนักถึงเหตุการณ์ลักษณะนี้ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้และมีกระบวนการในการติดตามและเฝ้าระวังเตรียมไว้พอสมควรแล้วซึ่งเชื่อว่าเป็นไปตามแนวทางที่ปฏิบัติกันในระดับสากลส่วนวิธีการจัดการกับฝุ่นที่ปนเปื้อนสารรังสีซีเซียม-137หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าโดยปกติกากกัมมันตรังสีจะมีวิธีการจัดการที่สามารถเลือกใช้ได้เช่นการจัดเก็บในภาชนะที่กันการรั่วไหลออกไปได้ง่ายซึ่งอาจมีการปรับสภาพก่อนการจัดเก็บเพื่อให้อยู่ในรูปที่สะดวกต่อการดูแลเนื่องจากต้องจัดเก็บไปจนกว่าซีเซียม-137จะสลายตัวจนอยู่ในระดับที่ปล่อยออกสู่ธรรมชาติหรือกำจัดทิ้งได้ทั้งนี้ซีเซียม-137มีค่าครึ่งชีวิตประมาณ30ปีหมายถึงว่าทุก30ปีจำนวนสารซีเซียม-137จะสลายตัวลดจำนวนไปครึ่งหนึ่งซึ่งตามข้อมูลของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม137ที่สูญหายไปนี้มีค่ากัมมันตภาพรังสีเริ่มต้นที่80มิลลิคูรีโดยเขาใช้งานมาเกือบ30ปีแล้วนั้นหมายถึงว่าวัสดุนี้เหลืออยู่อีก40มิลลิคูรีที่จะสามารถแผ่รังสีออกมาได้และอีก30ปีต่อไปข้างหน้าสารรังสีซีเซียม-137นี้จะสลายตัวไปอีกครึ่งหนึ่งเหลือ20มิลลิคูรีสุดท้ายก็จะสลายต่อไปเรื่อยๆจนอยู่ในระดับต่ำมากสามารถปลดปล่อยสู่ธรรมชาติได้หากผู้ใดในพื้นที่มีความกังวลหรือคาดว่ามีโอกาสประสบกับการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137สามารถติดต่อภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโทร022186781เพื่อช่วยในการตรวจวัดปริมาณรังสีโดยรอบได้...

จากกรณีข่าว“ท่อวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137”ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำในอ.ศรีมหาโพธิจ.ปราจีนบุรีและตรวจพบภายหลังอาจจะถูกหลอมไปแล้วที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งในจังหวัดปราจีนบุรีนั้นวันนี้(21มี.ค.66)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์เพ่งวาณิชย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระบุว่าจากข้อมูลที่ได้รับทราบจากการรายงานข่าวของสื่อมวลชนที่ว่ามีตรวจพบการปนเปื้อนของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งนั้นซึ่งนี้คือแสดงว่ามีวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ผ่านการแปรสภาพจากสภาพเดิมไปแล้วหรือหมายถึงว่าวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้ผ่านกระบวนการหลอมมาแล้วพร้อมกับโลหะอื่นๆซึ่งระหว่างกระบวนการหลอมสามารถเกิดผงฝุ่นปนเปื้อนวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้เนื่องจากวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137เป็นวัสดุควบคุมกำกับดูแลการใช้งานซึ่งโดยปกติจะไม่มีการส่งจัดการด้วยวิธีการหลอมประกอบกับเงื่อนเวลาที่เกิดเหตุการณ์ขึ้นจึงมีความเป็นไปได้สูงที่ผลของการหลอมมาจากท่อบรรจุวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำที่เจ้าหน้าที่กำลังตามหาอยู่โดยปกติกระบวนการหลอมเหล็กที่ถูกต้องตามมาตรฐานสากลจะเป็นระบบปิดจึงไม่ควรเกิดการฟุ้งกระจายของผงฝุ่นที่เกิดขึ้นออกไปนอกเตาหลอมซึ่งรวมถึงส่วนที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีตัวนี้ด้วยถ้าหากมีการหลอมปนไปกับเหล็กจริงๆ การหลอมจะทำให้สารกัมมันตรังสีที่แต่เดิมมีลักษณะเป็นก้อนเดียวแยกออกจากกันและมีการกระจายตัวออกไปทำให้ปริมาณรังสีที่แผ่ออกมาต่อพื้นที่ลดน้อยลงส่งผลให้หากมีผู้ได้รับรังสีชนิดนี้ก็ได้รับอันตรายจากการได้รับแผ่รังสีน้อยลงเช่นเดียวกัน แต่เนื่องจากสารกัมมันตรังสีกลายเป็นอนุภาคขนาดเล็กๆหรือฝุ่นซึ่งอาจเกิดการฟุ้งกระจายออกไปนอกบริเวณเก็บได้หากมีการปกคลุมไว้ไม่ดีพอทำให้มีโอกาสที่มนุษย์จะสูดดมหรือบริโภคเข้าไปภายในร่างกายได้อย่างไรก็ดีร่างกายมนุษย์มีกลไกที่สามารถกำจัดซีเซียม-137ออกได้หากไม่ได้สูดดมหรือบริโภคเข้าไปในปริมาณมากก็จะไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์ กล่าวต่อว่าโดยปกติแล้วคนมีโอกาสได้รับรังสีจากสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่แพร่กระจายด้วยกัน2วิธีวิธีแรกคือฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137อาจจะฟุ้งมาเกาะตามเสื้อผ้าหรือผิวหนังโดยฝุ่นซีเซียม-137นี้สามารถแผ่รังสีที่ผิวหนังเราได้หากเป็นเช่นนั้นถอดเสื้อผ้าชำระล้างร่างกายทันทีด้วยน้ำเปล่าเราก็สามารถกำจัดฝุ่นหรือผงวัสดุกัมมันตรังสีออกจากร่างกายเราได้วิธีที่สองคือการที่เราสูดดมเอาฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137เข้าไปในร่างกายหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนสารซีเซียม-137หรือที่มาเกาะบริเวณใกล้จมูกหรือปากเราแล้วมีการเผลอเข้าสู่ร่างกายเราก็จะมีการผ่านเข้าไปยังระบบทางเดินอาหารหรือทางเดินหายใจแต่ด้วยสารซีเซียม-137นี้มีคุณสมบัติคล้ายกับโพแทสเซียมแม้ว่าจะกระจายไปตามส่วนต่างๆของร่างกายได้แต่ก็ถูกขับถ่ายออกมาจากร่างกายได้ค่อนข้างเร็วตามกลไกเดียวกันกับโพแทสเซียมหากมีการสะสมจะมีการสะสมตัวอยู่ที่เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อแต่ก็จะสะสมอยู่ไม่นานประมาณ10%สามารถกำจัดออกเร็วโดยจะมีค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพเพียง2วันและส่วนที่เหลือจะถูกกำจัดออกด้วยค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพราว110วันซึ่งหมายความว่าซีเซียมที่ได้รับจะอยู่ในร่างกายไม่กี่เดือนเท่านั้นและการกำจัดจะเกิดขึ้นเร็วกว่าด้วยในเด็กแม้ฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137ที่ผ่านการหลอมแล้วจะยังแผ่รังสีอยู่แต่หากมีการจัดการที่ถูกวิธีก็จะช่วยลดความเป็นไปได้ที่จะส่งผลเสียทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อคนทั่วไปได้เนื่องจากซีเซียม-137ที่ผ่านการหล่อหลอมทำให้ความรุนแรงในการปล่อยรังสีต่อพื้นที่ลดน้อยลงไปมากต้องสัมผัสเป็นเวลานานจึงจะส่งผลใดๆต่อร่างกายส่วนฝุ่นปนเปื้อนซีเซียม-137ค่อนข้างเป็นสารที่มีน้ำหนักทำให้ไม่สามารถกระจายไปตามลมได้ไกลมากนักประกอบกับปริมาณที่ไม่มากเพราะส่วนใหญ่ยังอยู่ที่โรงหลอมการควบคุมพื้นที่ของการปนเปื้อนจึงดำเนินการได้ไม่ยากนักดร.พงษ์แพทย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าทางภาครัฐตระหนักถึงเหตุการณ์ลักษณะนี้ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้และมีกระบวนการในการติดตามและเฝ้าระวังเตรียมไว้พอสมควรแล้วซึ่งเชื่อว่าเป็นไปตามแนวทางที่ปฏิบัติกันในระดับสากลส่วนวิธีการจัดการกับฝุ่นที่ปนเปื้อนสารรังสีซีเซียม-137หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าโดยปกติกากกัมมันตรังสีจะมีวิธีการจัดการที่สามารถเลือกใช้ได้เช่นการจัดเก็บในภาชนะที่กันการรั่วไหลออกไปได้ง่ายซึ่งอาจมีการปรับสภาพก่อนการจัดเก็บเพื่อให้อยู่ในรูปที่สะดวกต่อการดูแลเนื่องจากต้องจัดเก็บไปจนกว่าซีเซียม-137จะสลายตัวจนอยู่ในระดับที่ปล่อยออกสู่ธรรมชาติหรือกำจัดทิ้งได้ทั้งนี้ซีเซียม-137มีค่าครึ่งชีวิตประมาณ30ปีหมายถึงว่าทุก30ปีจำนวนสารซีเซียม-137จะสลายตัวลดจำนวนไปครึ่งหนึ่งซึ่งตามข้อมูลของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม137ที่สูญหายไปนี้มีค่ากัมมันตภาพรังสีเริ่มต้นที่80มิลลิคูรีโดยเขาใช้งานมาเกือบ30ปีแล้วนั้นหมายถึงว่าวัสดุนี้เหลืออยู่อีก40มิลลิคูรีที่จะสามารถแผ่รังสีออกมาได้และอีก30ปีต่อไปข้างหน้าสารรังสีซีเซียม-137นี้จะสลายตัวไปอีกครึ่งหนึ่งเหลือ20มิลลิคูรีสุดท้ายก็จะสลายต่อไปเรื่อยๆจนอยู่ในระดับต่ำมากสามารถปลดปล่อยสู่ธรรมชาติได้หากผู้ใดในพื้นที่มีความกังวลหรือคาดว่ามีโอกาสประสบกับการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137สามารถติดต่อภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโทร022186781เพื่อช่วยในการตรวจวัดปริมาณรังสีโดยรอบได้จากกรณีข่าว“ท่อวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137”ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำในอ.ศรีมหาโพธิจ.ปราจีนบุรีและตรวจพบภายหลังอาจจะถูกหลอมไปแล้วที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งในจังหวัดปราจีนบุรีนั้นวันนี้(21มี.ค.66)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์เพ่งวาณิชย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระบุว่าจากข้อมูลที่ได้รับทราบจากการรายงานข่าวของสื่อมวลชนที่ว่ามีตรวจพบการปนเปื้อนของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งนั้นซึ่งนี้คือแสดงว่ามีวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ผ่านการแปรสภาพจากสภาพเดิมไปแล้วหรือหมายถึงว่าวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้ผ่านกระบวนการหลอมมาแล้วพร้อมกับโลหะอื่นๆซึ่งระหว่างกระบวนการหลอมสามารถเกิดผงฝุ่นปนเปื้อนวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้เนื่องจากวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137เป็นวัสดุควบคุมกำกับดูแลการใช้งานซึ่งโดยปกติจะไม่มีการส่งจัดการด้วยวิธีการหลอมประกอบกับเงื่อนเวลาที่เกิดเหตุการณ์ขึ้นจึงมีความเป็นไปได้สูงที่ผลของการหลอมมาจากท่อบรรจุวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำที่เจ้าหน้าที่กำลังตามหาอยู่โดยปกติกระบวนการหลอมเหล็กที่ถูกต้องตามมาตรฐานสากลจะเป็นระบบปิดจึงไม่ควรเกิดการฟุ้งกระจายของผงฝุ่นที่เกิดขึ้นออกไปนอกเตาหลอมซึ่งรวมถึงส่วนที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีตัวนี้ด้วยถ้าหากมีการหลอมปนไปกับเหล็กจริงๆ การหลอมจะทำให้สารกัมมันตรังสีที่แต่เดิมมีลักษณะเป็นก้อนเดียวแยกออกจากกันและมีการกระจายตัวออกไปทำให้ปริมาณรังสีที่แผ่ออกมาต่อพื้นที่ลดน้อยลงส่งผลให้หากมีผู้ได้รับรังสีชนิดนี้ก็ได้รับอันตรายจากการได้รับแผ่รังสีน้อยลงเช่นเดียวกัน แต่เนื่องจากสารกัมมันตรังสีกลายเป็นอนุภาคขนาดเล็กๆหรือฝุ่นซึ่งอาจเกิดการฟุ้งกระจายออกไปนอกบริเวณเก็บได้หากมีการปกคลุมไว้ไม่ดีพอทำให้มีโอกาสที่มนุษย์จะสูดดมหรือบริโภคเข้าไปภายในร่างกายได้อย่างไรก็ดีร่างกายมนุษย์มีกลไกที่สามารถกำจัดซีเซียม-137ออกได้หากไม่ได้สูดดมหรือบริโภคเข้าไปในปริมาณมากก็จะไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์ กล่าวต่อว่าโดยปกติแล้วคนมีโอกาสได้รับรังสีจากสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่แพร่กระจายด้วยกัน2วิธีวิธีแรกคือฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137อาจจะฟุ้งมาเกาะตามเสื้อผ้าหรือผิวหนังโดยฝุ่นซีเซียม-137นี้สามารถแผ่รังสีที่ผิวหนังเราได้หากเป็นเช่นนั้นถอดเสื้อผ้าชำระล้างร่างกายทันทีด้วยน้ำเปล่าเราก็สามารถกำจัดฝุ่นหรือผงวัสดุกัมมันตรังสีออกจากร่างกายเราได้วิธีที่สองคือการที่เราสูดดมเอาฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137เข้าไปในร่างกายหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนสารซีเซียม-137หรือที่มาเกาะบริเวณใกล้จมูกหรือปากเราแล้วมีการเผลอเข้าสู่ร่างกายเราก็จะมีการผ่านเข้าไปยังระบบทางเดินอาหารหรือทางเดินหายใจแต่ด้วยสารซีเซียม-137นี้มีคุณสมบัติคล้ายกับโพแทสเซียมแม้ว่าจะกระจายไปตามส่วนต่างๆของร่างกายได้แต่ก็ถูกขับถ่ายออกมาจากร่างกายได้ค่อนข้างเร็วตามกลไกเดียวกันกับโพแทสเซียมหากมีการสะสมจะมีการสะสมตัวอยู่ที่เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อแต่ก็จะสะสมอยู่ไม่นานประมาณ10%สามารถกำจัดออกเร็วโดยจะมีค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพเพียง2วันและส่วนที่เหลือจะถูกกำจัดออกด้วยค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพราว110วันซึ่งหมายความว่าซีเซียมที่ได้รับจะอยู่ในร่างกายไม่กี่เดือนเท่านั้นและการกำจัดจะเกิดขึ้นเร็วกว่าด้วยในเด็กแม้ฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137ที่ผ่านการหลอมแล้วจะยังแผ่รังสีอยู่แต่หากมีการจัดการที่ถูกวิธีก็จะช่วยลดความเป็นไปได้ที่จะส่งผลเสียทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อคนทั่วไปได้เนื่องจากซีเซียม-137ที่ผ่านการหล่อหลอมทำให้ความรุนแรงในการปล่อยรังสีต่อพื้นที่ลดน้อยลงไปมากต้องสัมผัสเป็นเวลานานจึงจะส่งผลใดๆต่อร่างกายส่วนฝุ่นปนเปื้อนซีเซียม-137ค่อนข้างเป็นสารที่มีน้ำหนักทำให้ไม่สามารถกระจายไปตามลมได้ไกลมากนักประกอบกับปริมาณที่ไม่มากเพราะส่วนใหญ่ยังอยู่ที่โรงหลอมการควบคุมพื้นที่ของการปนเปื้อนจึงดำเนินการได้ไม่ยากนักดร.พงษ์แพทย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าทางภาครัฐตระหนักถึงเหตุการณ์ลักษณะนี้ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้และมีกระบวนการในการติดตามและเฝ้าระวังเตรียมไว้พอสมควรแล้วซึ่งเชื่อว่าเป็นไปตามแนวทางที่ปฏิบัติกันในระดับสากลส่วนวิธีการจัดการกับฝุ่นที่ปนเปื้อนสารรังสีซีเซียม-137หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าโดยปกติกากกัมมันตรังสีจะมีวิธีการจัดการที่สามารถเลือกใช้ได้เช่นการจัดเก็บในภาชนะที่กันการรั่วไหลออกไปได้ง่ายซึ่งอาจมีการปรับสภาพก่อนการจัดเก็บเพื่อให้อยู่ในรูปที่สะดวกต่อการดูแลเนื่องจากต้องจัดเก็บไปจนกว่าซีเซียม-137จะสลายตัวจนอยู่ในระดับที่ปล่อยออกสู่ธรรมชาติหรือกำจัดทิ้งได้ทั้งนี้ซีเซียม-137มีค่าครึ่งชีวิตประมาณ30ปีหมายถึงว่าทุก30ปีจำนวนสารซีเซียม-137จะสลายตัวลดจำนวนไปครึ่งหนึ่งซึ่งตามข้อมูลของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม137ที่สูญหายไปนี้มีค่ากัมมันตภาพรังสีเริ่มต้นที่80มิลลิคูรีโดยเขาใช้งานมาเกือบ30ปีแล้วนั้นหมายถึงว่าวัสดุนี้เหลืออยู่อีก40มิลลิคูรีที่จะสามารถแผ่รังสีออกมาได้และอีก30ปีต่อไปข้างหน้าสารรังสีซีเซียม-137นี้จะสลายตัวไปอีกครึ่งหนึ่งเหลือ20มิลลิคูรีสุดท้ายก็จะสลายต่อไปเรื่อยๆจนอยู่ในระดับต่ำมากสามารถปลดปล่อยสู่ธรรมชาติได้หากผู้ใดในพื้นที่มีความกังวลหรือคาดว่ามีโอกาสประสบกับการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137สามารถติดต่อภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโทร022186781เพื่อช่วยในการตรวจวัดปริมาณรังสีโดยรอบได้วิศวะ จุฬาฯ รับตรวจ ซีเซียม-137 ให้กับประชาชนที่กังวลได้รับรังสีจากกรณีข่าว“ท่อวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137”ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำในอ.ศรีมหาโพธิจ.ปราจีนบุรีและตรวจพบภายหลังอาจจะถูกหลอมไปแล้วที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งในจังหวัดปราจีนบุรีนั้นวันนี้(21มี.ค.66)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์เพ่งวาณิชย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระบุว่าจากข้อมูลที่ได้รับทราบจากการรายงานข่าวของสื่อมวลชนที่ว่ามีตรวจพบการปนเปื้อนของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งนั้นซึ่งนี้คือแสดงว่ามีวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ผ่านการแปรสภาพจากสภาพเดิมไปแล้วหรือหมายถึงว่าวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้ผ่านกระบวนการหลอมมาแล้วพร้อมกับโลหะอื่นๆซึ่งระหว่างกระบวนการหลอมสามารถเกิดผงฝุ่นปนเปื้อนวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้เนื่องจากวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137เป็นวัสดุควบคุมกำกับดูแลการใช้งานซึ่งโดยปกติจะไม่มีการส่งจัดการด้วยวิธีการหลอมประกอบกับเงื่อนเวลาที่เกิดเหตุการณ์ขึ้นจึงมีความเป็นไปได้สูงที่ผลของการหลอมมาจากท่อบรรจุวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำที่เจ้าหน้าที่กำลังตามหาอยู่โดยปกติกระบวนการหลอมเหล็กที่ถูกต้องตามมาตรฐานสากลจะเป็นระบบปิดจึงไม่ควรเกิดการฟุ้งกระจายของผงฝุ่นที่เกิดขึ้นออกไปนอกเตาหลอมซึ่งรวมถึงส่วนที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีตัวนี้ด้วยถ้าหากมีการหลอมปนไปกับเหล็กจริงๆ การหลอมจะทำให้สารกัมมันตรังสีที่แต่เดิมมีลักษณะเป็นก้อนเดียวแยกออกจากกันและมีการกระจายตัวออกไปทำให้ปริมาณรังสีที่แผ่ออกมาต่อพื้นที่ลดน้อยลงส่งผลให้หากมีผู้ได้รับรังสีชนิดนี้ก็ได้รับอันตรายจากการได้รับแผ่รังสีน้อยลงเช่นเดียวกัน แต่เนื่องจากสารกัมมันตรังสีกลายเป็นอนุภาคขนาดเล็กๆหรือฝุ่นซึ่งอาจเกิดการฟุ้งกระจายออกไปนอกบริเวณเก็บได้หากมีการปกคลุมไว้ไม่ดีพอทำให้มีโอกาสที่มนุษย์จะสูดดมหรือบริโภคเข้าไปภายในร่างกายได้อย่างไรก็ดีร่างกายมนุษย์มีกลไกที่สามารถกำจัดซีเซียม-137ออกได้หากไม่ได้สูดดมหรือบริโภคเข้าไปในปริมาณมากก็จะไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์ กล่าวต่อว่าโดยปกติแล้วคนมีโอกาสได้รับรังสีจากสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่แพร่กระจายด้วยกัน2วิธีวิธีแรกคือฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137อาจจะฟุ้งมาเกาะตามเสื้อผ้าหรือผิวหนังโดยฝุ่นซีเซียม-137นี้สามารถแผ่รังสีที่ผิวหนังเราได้หากเป็นเช่นนั้นถอดเสื้อผ้าชำระล้างร่างกายทันทีด้วยน้ำเปล่าเราก็สามารถกำจัดฝุ่นหรือผงวัสดุกัมมันตรังสีออกจากร่างกายเราได้วิธีที่สองคือการที่เราสูดดมเอาฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137เข้าไปในร่างกายหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนสารซีเซียม-137หรือที่มาเกาะบริเวณใกล้จมูกหรือปากเราแล้วมีการเผลอเข้าสู่ร่างกายเราก็จะมีการผ่านเข้าไปยังระบบทางเดินอาหารหรือทางเดินหายใจแต่ด้วยสารซีเซียม-137นี้มีคุณสมบัติคล้ายกับโพแทสเซียมแม้ว่าจะกระจายไปตามส่วนต่างๆของร่างกายได้แต่ก็ถูกขับถ่ายออกมาจากร่างกายได้ค่อนข้างเร็วตามกลไกเดียวกันกับโพแทสเซียมหากมีการสะสมจะมีการสะสมตัวอยู่ที่เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อแต่ก็จะสะสมอยู่ไม่นานประมาณ10%สามารถกำจัดออกเร็วโดยจะมีค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพเพียง2วันและส่วนที่เหลือจะถูกกำจัดออกด้วยค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพราว110วันซึ่งหมายความว่าซีเซียมที่ได้รับจะอยู่ในร่างกายไม่กี่เดือนเท่านั้นและการกำจัดจะเกิดขึ้นเร็วกว่าด้วยในเด็กแม้ฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137ที่ผ่านการหลอมแล้วจะยังแผ่รังสีอยู่แต่หากมีการจัดการที่ถูกวิธีก็จะช่วยลดความเป็นไปได้ที่จะส่งผลเสียทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อคนทั่วไปได้เนื่องจากซีเซียม-137ที่ผ่านการหล่อหลอมทำให้ความรุนแรงในการปล่อยรังสีต่อพื้นที่ลดน้อยลงไปมากต้องสัมผัสเป็นเวลานานจึงจะส่งผลใดๆต่อร่างกายส่วนฝุ่นปนเปื้อนซีเซียม-137ค่อนข้างเป็นสารที่มีน้ำหนักทำให้ไม่สามารถกระจายไปตามลมได้ไกลมากนักประกอบกับปริมาณที่ไม่มากเพราะส่วนใหญ่ยังอยู่ที่โรงหลอมการควบคุมพื้นที่ของการปนเปื้อนจึงดำเนินการได้ไม่ยากนักดร.พงษ์แพทย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าทางภาครัฐตระหนักถึงเหตุการณ์ลักษณะนี้ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้และมีกระบวนการในการติดตามและเฝ้าระวังเตรียมไว้พอสมควรแล้วซึ่งเชื่อว่าเป็นไปตามแนวทางที่ปฏิบัติกันในระดับสากลส่วนวิธีการจัดการกับฝุ่นที่ปนเปื้อนสารรังสีซีเซียม-137หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าโดยปกติกากกัมมันตรังสีจะมีวิธีการจัดการที่สามารถเลือกใช้ได้เช่นการจัดเก็บในภาชนะที่กันการรั่วไหลออกไปได้ง่ายซึ่งอาจมีการปรับสภาพก่อนการจัดเก็บเพื่อให้อยู่ในรูปที่สะดวกต่อการดูแลเนื่องจากต้องจัดเก็บไปจนกว่าซีเซียม-137จะสลายตัวจนอยู่ในระดับที่ปล่อยออกสู่ธรรมชาติหรือกำจัดทิ้งได้ทั้งนี้ซีเซียม-137มีค่าครึ่งชีวิตประมาณ30ปีหมายถึงว่าทุก30ปีจำนวนสารซีเซียม-137จะสลายตัวลดจำนวนไปครึ่งหนึ่งซึ่งตามข้อมูลของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม137ที่สูญหายไปนี้มีค่ากัมมันตภาพรังสีเริ่มต้นที่80มิลลิคูรีโดยเขาใช้งานมาเกือบ30ปีแล้วนั้นหมายถึงว่าวัสดุนี้เหลืออยู่อีก40มิลลิคูรีที่จะสามารถแผ่รังสีออกมาได้และอีก30ปีต่อไปข้างหน้าสารรังสีซีเซียม-137นี้จะสลายตัวไปอีกครึ่งหนึ่งเหลือ20มิลลิคูรีสุดท้ายก็จะสลายต่อไปเรื่อยๆจนอยู่ในระดับต่ำมากสามารถปลดปล่อยสู่ธรรมชาติได้หากผู้ใดในพื้นที่มีความกังวลหรือคาดว่ามีโอกาสประสบกับการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137สามารถติดต่อภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโทร022186781เพื่อช่วยในการตรวจวัดปริมาณรังสีโดยรอบได้...

วิศวะ จุฬาฯ รับตรวจ ซีเซียม-137 ให้กับประชาชนที่กังวลได้รับรังสีวิศวะ จุฬาฯ รับตรวจ ซีเซียม-137 ให้กับประชาชนที่กังวลได้รับรังสีจากกรณีข่าว“ท่อวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137”ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำในอ.ศรีมหาโพธิจ.ปราจีนบุรีและตรวจพบภายหลังอาจจะถูกหลอมไปแล้วที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งในจังหวัดปราจีนบุรีนั้นวันนี้(21มี.ค.66)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์เพ่งวาณิชย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระบุว่าจากข้อมูลที่ได้รับทราบจากการรายงานข่าวของสื่อมวลชนที่ว่ามีตรวจพบการปนเปื้อนของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งนั้นซึ่งนี้คือแสดงว่ามีวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ผ่านการแปรสภาพจากสภาพเดิมไปแล้วหรือหมายถึงว่าวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้ผ่านกระบวนการหลอมมาแล้วพร้อมกับโลหะอื่นๆซึ่งระหว่างกระบวนการหลอมสามารถเกิดผงฝุ่นปนเปื้อนวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้เนื่องจากวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137เป็นวัสดุควบคุมกำกับดูแลการใช้งานซึ่งโดยปกติจะไม่มีการส่งจัดการด้วยวิธีการหลอมประกอบกับเงื่อนเวลาที่เกิดเหตุการณ์ขึ้นจึงมีความเป็นไปได้สูงที่ผลของการหลอมมาจากท่อบรรจุวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำที่เจ้าหน้าที่กำลังตามหาอยู่โดยปกติกระบวนการหลอมเหล็กที่ถูกต้องตามมาตรฐานสากลจะเป็นระบบปิดจึงไม่ควรเกิดการฟุ้งกระจายของผงฝุ่นที่เกิดขึ้นออกไปนอกเตาหลอมซึ่งรวมถึงส่วนที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีตัวนี้ด้วยถ้าหากมีการหลอมปนไปกับเหล็กจริงๆ การหลอมจะทำให้สารกัมมันตรังสีที่แต่เดิมมีลักษณะเป็นก้อนเดียวแยกออกจากกันและมีการกระจายตัวออกไปทำให้ปริมาณรังสีที่แผ่ออกมาต่อพื้นที่ลดน้อยลงส่งผลให้หากมีผู้ได้รับรังสีชนิดนี้ก็ได้รับอันตรายจากการได้รับแผ่รังสีน้อยลงเช่นเดียวกัน แต่เนื่องจากสารกัมมันตรังสีกลายเป็นอนุภาคขนาดเล็กๆหรือฝุ่นซึ่งอาจเกิดการฟุ้งกระจายออกไปนอกบริเวณเก็บได้หากมีการปกคลุมไว้ไม่ดีพอทำให้มีโอกาสที่มนุษย์จะสูดดมหรือบริโภคเข้าไปภายในร่างกายได้อย่างไรก็ดีร่างกายมนุษย์มีกลไกที่สามารถกำจัดซีเซียม-137ออกได้หากไม่ได้สูดดมหรือบริโภคเข้าไปในปริมาณมากก็จะไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์ กล่าวต่อว่าโดยปกติแล้วคนมีโอกาสได้รับรังสีจากสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่แพร่กระจายด้วยกัน2วิธีวิธีแรกคือฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137อาจจะฟุ้งมาเกาะตามเสื้อผ้าหรือผิวหนังโดยฝุ่นซีเซียม-137นี้สามารถแผ่รังสีที่ผิวหนังเราได้หากเป็นเช่นนั้นถอดเสื้อผ้าชำระล้างร่างกายทันทีด้วยน้ำเปล่าเราก็สามารถกำจัดฝุ่นหรือผงวัสดุกัมมันตรังสีออกจากร่างกายเราได้วิธีที่สองคือการที่เราสูดดมเอาฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137เข้าไปในร่างกายหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนสารซีเซียม-137หรือที่มาเกาะบริเวณใกล้จมูกหรือปากเราแล้วมีการเผลอเข้าสู่ร่างกายเราก็จะมีการผ่านเข้าไปยังระบบทางเดินอาหารหรือทางเดินหายใจแต่ด้วยสารซีเซียม-137นี้มีคุณสมบัติคล้ายกับโพแทสเซียมแม้ว่าจะกระจายไปตามส่วนต่างๆของร่างกายได้แต่ก็ถูกขับถ่ายออกมาจากร่างกายได้ค่อนข้างเร็วตามกลไกเดียวกันกับโพแทสเซียมหากมีการสะสมจะมีการสะสมตัวอยู่ที่เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อแต่ก็จะสะสมอยู่ไม่นานประมาณ10%สามารถกำจัดออกเร็วโดยจะมีค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพเพียง2วันและส่วนที่เหลือจะถูกกำจัดออกด้วยค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพราว110วันซึ่งหมายความว่าซีเซียมที่ได้รับจะอยู่ในร่างกายไม่กี่เดือนเท่านั้นและการกำจัดจะเกิดขึ้นเร็วกว่าด้วยในเด็กแม้ฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137ที่ผ่านการหลอมแล้วจะยังแผ่รังสีอยู่แต่หากมีการจัดการที่ถูกวิธีก็จะช่วยลดความเป็นไปได้ที่จะส่งผลเสียทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อคนทั่วไปได้เนื่องจากซีเซียม-137ที่ผ่านการหล่อหลอมทำให้ความรุนแรงในการปล่อยรังสีต่อพื้นที่ลดน้อยลงไปมากต้องสัมผัสเป็นเวลานานจึงจะส่งผลใดๆต่อร่างกายส่วนฝุ่นปนเปื้อนซีเซียม-137ค่อนข้างเป็นสารที่มีน้ำหนักทำให้ไม่สามารถกระจายไปตามลมได้ไกลมากนักประกอบกับปริมาณที่ไม่มากเพราะส่วนใหญ่ยังอยู่ที่โรงหลอมการควบคุมพื้นที่ของการปนเปื้อนจึงดำเนินการได้ไม่ยากนักดร.พงษ์แพทย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าทางภาครัฐตระหนักถึงเหตุการณ์ลักษณะนี้ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้และมีกระบวนการในการติดตามและเฝ้าระวังเตรียมไว้พอสมควรแล้วซึ่งเชื่อว่าเป็นไปตามแนวทางที่ปฏิบัติกันในระดับสากลส่วนวิธีการจัดการกับฝุ่นที่ปนเปื้อนสารรังสีซีเซียม-137หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าโดยปกติกากกัมมันตรังสีจะมีวิธีการจัดการที่สามารถเลือกใช้ได้เช่นการจัดเก็บในภาชนะที่กันการรั่วไหลออกไปได้ง่ายซึ่งอาจมีการปรับสภาพก่อนการจัดเก็บเพื่อให้อยู่ในรูปที่สะดวกต่อการดูแลเนื่องจากต้องจัดเก็บไปจนกว่าซีเซียม-137จะสลายตัวจนอยู่ในระดับที่ปล่อยออกสู่ธรรมชาติหรือกำจัดทิ้งได้ทั้งนี้ซีเซียม-137มีค่าครึ่งชีวิตประมาณ30ปีหมายถึงว่าทุก30ปีจำนวนสารซีเซียม-137จะสลายตัวลดจำนวนไปครึ่งหนึ่งซึ่งตามข้อมูลของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม137ที่สูญหายไปนี้มีค่ากัมมันตภาพรังสีเริ่มต้นที่80มิลลิคูรีโดยเขาใช้งานมาเกือบ30ปีแล้วนั้นหมายถึงว่าวัสดุนี้เหลืออยู่อีก40มิลลิคูรีที่จะสามารถแผ่รังสีออกมาได้และอีก30ปีต่อไปข้างหน้าสารรังสีซีเซียม-137นี้จะสลายตัวไปอีกครึ่งหนึ่งเหลือ20มิลลิคูรีสุดท้ายก็จะสลายต่อไปเรื่อยๆจนอยู่ในระดับต่ำมากสามารถปลดปล่อยสู่ธรรมชาติได้หากผู้ใดในพื้นที่มีความกังวลหรือคาดว่ามีโอกาสประสบกับการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137สามารถติดต่อภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโทร022186781เพื่อช่วยในการตรวจวัดปริมาณรังสีโดยรอบได้วิศวะ จุฬาฯ รับตรวจ ซีเซียม-137 ให้กับประชาชนที่กังวลได้รับรังสี...

วิศวะ จุฬาฯ รับตรวจ ซีเซียม-137 ให้กับประชาชนที่กังวลได้รับรังสีจากกรณีข่าว“ท่อวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137”ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำในอ.ศรีมหาโพธิจ.ปราจีนบุรีและตรวจพบภายหลังอาจจะถูกหลอมไปแล้วที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งในจังหวัดปราจีนบุรีนั้นวันนี้(21มี.ค.66)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์เพ่งวาณิชย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระบุว่าจากข้อมูลที่ได้รับทราบจากการรายงานข่าวของสื่อมวลชนที่ว่ามีตรวจพบการปนเปื้อนของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่งนั้นซึ่งนี้คือแสดงว่ามีวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ผ่านการแปรสภาพจากสภาพเดิมไปแล้วหรือหมายถึงว่าวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้ผ่านกระบวนการหลอมมาแล้วพร้อมกับโลหะอื่นๆซึ่งระหว่างกระบวนการหลอมสามารถเกิดผงฝุ่นปนเปื้อนวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ได้เนื่องจากวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137เป็นวัสดุควบคุมกำกับดูแลการใช้งานซึ่งโดยปกติจะไม่มีการส่งจัดการด้วยวิธีการหลอมประกอบกับเงื่อนเวลาที่เกิดเหตุการณ์ขึ้นจึงมีความเป็นไปได้สูงที่ผลของการหลอมมาจากท่อบรรจุวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำที่เจ้าหน้าที่กำลังตามหาอยู่โดยปกติกระบวนการหลอมเหล็กที่ถูกต้องตามมาตรฐานสากลจะเป็นระบบปิดจึงไม่ควรเกิดการฟุ้งกระจายของผงฝุ่นที่เกิดขึ้นออกไปนอกเตาหลอมซึ่งรวมถึงส่วนที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีตัวนี้ด้วยถ้าหากมีการหลอมปนไปกับเหล็กจริงๆ การหลอมจะทำให้สารกัมมันตรังสีที่แต่เดิมมีลักษณะเป็นก้อนเดียวแยกออกจากกันและมีการกระจายตัวออกไปทำให้ปริมาณรังสีที่แผ่ออกมาต่อพื้นที่ลดน้อยลงส่งผลให้หากมีผู้ได้รับรังสีชนิดนี้ก็ได้รับอันตรายจากการได้รับแผ่รังสีน้อยลงเช่นเดียวกัน แต่เนื่องจากสารกัมมันตรังสีกลายเป็นอนุภาคขนาดเล็กๆหรือฝุ่นซึ่งอาจเกิดการฟุ้งกระจายออกไปนอกบริเวณเก็บได้หากมีการปกคลุมไว้ไม่ดีพอทำให้มีโอกาสที่มนุษย์จะสูดดมหรือบริโภคเข้าไปภายในร่างกายได้อย่างไรก็ดีร่างกายมนุษย์มีกลไกที่สามารถกำจัดซีเซียม-137ออกได้หากไม่ได้สูดดมหรือบริโภคเข้าไปในปริมาณมากก็จะไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พงษ์แพทย์ กล่าวต่อว่าโดยปกติแล้วคนมีโอกาสได้รับรังสีจากสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137ที่แพร่กระจายด้วยกัน2วิธีวิธีแรกคือฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137อาจจะฟุ้งมาเกาะตามเสื้อผ้าหรือผิวหนังโดยฝุ่นซีเซียม-137นี้สามารถแผ่รังสีที่ผิวหนังเราได้หากเป็นเช่นนั้นถอดเสื้อผ้าชำระล้างร่างกายทันทีด้วยน้ำเปล่าเราก็สามารถกำจัดฝุ่นหรือผงวัสดุกัมมันตรังสีออกจากร่างกายเราได้วิธีที่สองคือการที่เราสูดดมเอาฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137เข้าไปในร่างกายหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนสารซีเซียม-137หรือที่มาเกาะบริเวณใกล้จมูกหรือปากเราแล้วมีการเผลอเข้าสู่ร่างกายเราก็จะมีการผ่านเข้าไปยังระบบทางเดินอาหารหรือทางเดินหายใจแต่ด้วยสารซีเซียม-137นี้มีคุณสมบัติคล้ายกับโพแทสเซียมแม้ว่าจะกระจายไปตามส่วนต่างๆของร่างกายได้แต่ก็ถูกขับถ่ายออกมาจากร่างกายได้ค่อนข้างเร็วตามกลไกเดียวกันกับโพแทสเซียมหากมีการสะสมจะมีการสะสมตัวอยู่ที่เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อแต่ก็จะสะสมอยู่ไม่นานประมาณ10%สามารถกำจัดออกเร็วโดยจะมีค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพเพียง2วันและส่วนที่เหลือจะถูกกำจัดออกด้วยค่าครึ่งชีวิตทางชีวภาพราว110วันซึ่งหมายความว่าซีเซียมที่ได้รับจะอยู่ในร่างกายไม่กี่เดือนเท่านั้นและการกำจัดจะเกิดขึ้นเร็วกว่าด้วยในเด็กแม้ฝุ่นปนเปื้อนสารซีเซียม-137ที่ผ่านการหลอมแล้วจะยังแผ่รังสีอยู่แต่หากมีการจัดการที่ถูกวิธีก็จะช่วยลดความเป็นไปได้ที่จะส่งผลเสียทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อคนทั่วไปได้เนื่องจากซีเซียม-137ที่ผ่านการหล่อหลอมทำให้ความรุนแรงในการปล่อยรังสีต่อพื้นที่ลดน้อยลงไปมากต้องสัมผัสเป็นเวลานานจึงจะส่งผลใดๆต่อร่างกายส่วนฝุ่นปนเปื้อนซีเซียม-137ค่อนข้างเป็นสารที่มีน้ำหนักทำให้ไม่สามารถกระจายไปตามลมได้ไกลมากนักประกอบกับปริมาณที่ไม่มากเพราะส่วนใหญ่ยังอยู่ที่โรงหลอมการควบคุมพื้นที่ของการปนเปื้อนจึงดำเนินการได้ไม่ยากนักดร.พงษ์แพทย์หัวหน้าภาควิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าทางภาครัฐตระหนักถึงเหตุการณ์ลักษณะนี้ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้และมีกระบวนการในการติดตามและเฝ้าระวังเตรียมไว้พอสมควรแล้วซึ่งเชื่อว่าเป็นไปตามแนวทางที่ปฏิบัติกันในระดับสากลส่วนวิธีการจัดการกับฝุ่นที่ปนเปื้อนสารรังสีซีเซียม-137หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์เปิดเผยว่าโดยปกติกากกัมมันตรังสีจะมีวิธีการจัดการที่สามารถเลือกใช้ได้เช่นการจัดเก็บในภาชนะที่กันการรั่วไหลออกไปได้ง่ายซึ่งอาจมีการปรับสภาพก่อนการจัดเก็บเพื่อให้อยู่ในรูปที่สะดวกต่อการดูแลเนื่องจากต้องจัดเก็บไปจนกว่าซีเซียม-137จะสลายตัวจนอยู่ในระดับที่ปล่อยออกสู่ธรรมชาติหรือกำจัดทิ้งได้ทั้งนี้ซีเซียม-137มีค่าครึ่งชีวิตประมาณ30ปีหมายถึงว่าทุก30ปีจำนวนสารซีเซียม-137จะสลายตัวลดจำนวนไปครึ่งหนึ่งซึ่งตามข้อมูลของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม137ที่สูญหายไปนี้มีค่ากัมมันตภาพรังสีเริ่มต้นที่80มิลลิคูรีโดยเขาใช้งานมาเกือบ30ปีแล้วนั้นหมายถึงว่าวัสดุนี้เหลืออยู่อีก40มิลลิคูรีที่จะสามารถแผ่รังสีออกมาได้และอีก30ปีต่อไปข้างหน้าสารรังสีซีเซียม-137นี้จะสลายตัวไปอีกครึ่งหนึ่งเหลือ20มิลลิคูรีสุดท้ายก็จะสลายต่อไปเรื่อยๆจนอยู่ในระดับต่ำมากสามารถปลดปล่อยสู่ธรรมชาติได้หากผู้ใดในพื้นที่มีความกังวลหรือคาดว่ามีโอกาสประสบกับการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีซีเซียม-137สามารถติดต่อภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโทร022186781เพื่อช่วยในการตรวจวัดปริมาณรังสีโดยรอบได้วิศวะ จุฬาฯ รับตรวจ ซีเซียม-137 ให้กับประชาชนที่กังวลได้รับรังสีวิศวะ จุฬาฯ รับตรวจ ซีเซียม-137 ให้กับประชาชนที่กังวลได้รับรังสี...